logo

blog

Home / blog

BLOG แนะนำ

ค้นหาโรคตามอาการ

ค้นหาอาการที่เกิดขึ้นจากร่างกายที่คุณอยากรู้

โรคตามอวัยวะต่างๆของร่างกาย

ศึกษาโรคที่เกิดขึ้นภายในอวัยวะต่างๆของร่างกาย

BLOG ล่าสุด

โดย ภู ภักดิ์วิไลเกียรติ

จิตวิทยาผู้ใหญ่ตอนที่ 398: ความเชื่อที่บิดเบือนทางวัฒนธรรม (2)

นักจิตวิทยาทางระบบนิเวศน์ (Ecological psychology) ได้พยายามพัฒนาแบบทดสอบทางไอคิวที่ มีเสรีภาพทางวัฒนธรรม (Cultural-free tests) โดยพวกเขากล่าวว่า เราสามารถวัดค่าทางสติปัญญาได้ โดยการสังเกตว่าคนสามารถแก้ไขปัญหาในระบบนิเวศน์...

โดย ดร. วิทยา มานะวาณิชเจริญ

เจ็บไข้ได้ป่วย ตอนที่ 60 – สภาวะด่าง (5)

ดังนั้น สิ่งสำคัญที่สุดคือการเรียกคืน (Re-claim) อาณาบริเวณภายใน (Inner terrain) ร่างกาย โดยเราจะส่งพยาธิ (Parasite), เห็ดรา (Fungus), เชื้อรา (Mold), เชื้อหมัก (Yeast) และแบคทีเรียชนิดเลว (Bad bacteria) เข้าไปอัดแน่น (Packing) เนื่องจากมันไม่สามารถอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่เป็นด่าง (Alkaline)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน แอสไพรินเพิ่มอัตรารอดชีวิตในมะเร็งเต้านมหรือไม่

แอสไพริน เป็นตัวยาที่ทางการแพทย์คุ้นเคยตั้งแต่ปี ค.ศ.1899 ผลิตครั้งแรกโดยบริษัท เบเยอร์/ไบเออร์ (Bayer) ประเทศเยอรมนี เป็นยาราคาถูกแต่มีประสิทธิภาพเป็นยาต้านการอักเสบในกลุ่มเอ็นเสด ยาลดไข้ ยาแก้ปวด...

โดย ภู ภักดิ์วิไลเกียรติ

จิตวิทยาผู้ใหญ่ตอนที่ 397: ความเชื่อที่บิดเบือนทางวัฒนธรรม (1)

ข้อวิจารณ์หลักเกี่ยวกับแบบทดสอบทางไอคิว ก็คือมันมีความเชื่อที่บิดเบือนทางวัฒนธรรมแอบแฝงอยู่ (Culturally- biased) โดยเฉพาะในชุมชนอุตสาหกรรม (Industrialized communities) เช่น กลุ่มคนผิวขาวชนชั้นกลางในสหรัฐอเมริกา

โดย ดร. วิทยา มานะวาณิชเจริญ

เจ็บไข้ได้ป่วย ตอนที่ 59 – สภาวะด่าง (4)

นายแพทย์ วิลเลียม เฮาเวิร์ด เฮย์ (William Howard Hay, M.D.) กล่าวว่า “เราเริ่มแยกตัวออกห่างจากสุขภาพ ในสัดส่วนที่เรายอมให้ด่าง (Alkalis) แตกกระจาย (Dissipate) โดยการแนะนำอาหารที่ก่อให้เกิดกรดในปริมาณสูง...