โรคกระดูกพรุน โรคกระดูกบาง (Osteoporosis and Osteopenia)
โรคกระดูกพรุนไม่ก่ออาการยกเว้นเป็นปัจจัยเสี่ยงให้กระดูกหักได้ง่าย ซึ่งถ้าเกิดในวัยหมดประจำเดือน มักเกิดกระดูกหักง่ายที่ปลายกระดูกแขน/กระดูกข้อมือ
- 17 มีนาคม 2561
- อ่านเนื้อหาทั้งหมด
Home / ค้นหาอาการที่เกิดขึ้นภายในร่างกาย / กระดูกพรุน
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
โรคกระดูกพรุนไม่ก่ออาการยกเว้นเป็นปัจจัยเสี่ยงให้กระดูกหักได้ง่าย ซึ่งถ้าเกิดในวัยหมดประจำเดือน มักเกิดกระดูกหักง่ายที่ปลายกระดูกแขน/กระดูกข้อมือ
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
ยาลาโซโฟซิฟีนมีสรรพคุณ/ข้อบ่งใช้สำหรับการรักษาโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) โดยมีผลยับยั้งการสลายกระดูกและลดการหมุนเวียนของกระดูก ลดการสูญเสียมวลกระดูก
โดย ภก.ศิวัสว์ ผุลลาภิวัฒน์
กลุ่มยาบิสฟอสโฟเนตมีสรรพคุณ/คุณสมบัติ/ข้อบ่งใช้ดังต่อไปนี้ ป้องกันและรักษาโรคกระดูกพรุนในหญิงวัยหมดประจำเดือน, รักษาโรคกระดูกพรุนในผู้ป่วยชาย
โดย ภก.ศิวัสว์ ผุลลาภิวัฒน์
ยาอะเลนโดรเนทมีข้อบ่งใช้ป้องกันและรักษาโรคกระดูกพรุนในสตรีวัยหมดประจำเดือน โรคพาเจตของกระดูก ซึ่งเป็นโรคที่กระดูกที่มีความเปราะบางแตกหักง่าย
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
ยาโซลิโดรนิก แอซิดมีข้อบ่งใช้/สรรพคุณสำหรับการรักษาภาวะแคลเซียมในเลือดสูงอันเนื่องมาจากเซลล์มะเร็ง