logo

หน้าหลัก / ค้นหาโรคตามอวัยวะ

อวัยวะภายในร่างกาย

สูตินรีเวช

ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (Intrauterine fetal demise)

โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ประนอม บุพศิริ

หากแพทย์ตรวจพบว่าขนาดของครรภ์ไม่โตขึ้นตามที่ควรจะเป็น ฟังไม่ได้ยินการเต้นของเสียงหัวใจทารกโดยใช้เครื่องช่วยฟัง น้ำหนักมารดาไม่เพิ่มขึ้น

เนื้องอกรังไข่ (Ovarian tumor)

โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง วรลักษณ์ สมบูรณ์พร

อาการที่มักพบได้บ่อยจากการมีเนื้องอกรังไข่คือ การคลำได้ก้อนด้วยตัวเองที่ท้อง น้อย บางรายอาจจะพบว่ามีอาการปวดที่ท้องน้อยได้บ้าง บางรายอาจรู้สึกว่าท้องโตขึ้น

ทารกท่าก้น เด็กท่าก้น (Breech presentation)

โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ประนอม บุพศิริ

แต่เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น ทารกตัวโตขึ้น การหมุนเปลี่ยนท่าของทารกจะทำได้ยากขึ้น เมื่อทารกเอาก้นลงไปในอุ้งเชิงกราน ศีรษะจึงอยู่ส่วนบนหรือบริเวณใต้ลิ้นปี่

ภาวะสายสะดือย้อย ภาวะสายสะดือโผล่แลบ (Umbilical cord prolapse)

โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ประนอม บุพศิริ

ภาวะสายสะดือย้อย หรือสายสะดือโผล่แลบ (Umbilical cord prolapse) คือ การที่สายสะดือของทารกในครรภ์ ย้อยต่ำลงไปข้างๆส่วนนำ หรือต่ำกว่าส่วนนำของทารก

โพรเจสเทอโรน (Progesterone) โพรเจสทิน (Progestin) โพรเจสโตเจน (Progestogen)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

โพรเจสเทอโรน/โปรเจสเตอโรน(Progesterone) เป็นกลุ่มฮอร์โมนเพศหญิงที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากฮอร์โมนเอสโตรเจน โดยโพรเจสเทอโรน เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากรังไข่