logo

หน้าหลัก / ค้นหาโรคตามอวัยวะ

อวัยวะภายในร่างกาย

อวัยวะในระบบทางเดินอาหาร

คลื่นเหียน (Nausea)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

คลื่นเหียน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง มีอาการคลื่นไส้ จะอาเจียน

พยาธิปากขอ (Hookworm infection)

โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ พนัส เฉลิมแสนยากร

โดยที่ตัวอ่อนสามารถไปหลบซ่อนอยู่ในกล้ามเนื้อของมารดาตั้งแต่ยังไม่ตั้งครรภ์ พอเกิดการตั้งครรภ์ ตัวอ่อนจะออกจากกล้ามเนื้อแล้วมาที่ต่อมน้ำนม

สะอึก (Hiccup)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

อาการสะอึกจะหายได้เอง ไม่ต้องรักษา แต่มีวิธีการทางภูมิปัญญาพื้นบ้าน ที่อาจช่วยให้สะอึกหายเร็วขึ้น โดยเชื่อว่า วิธีการเหล่านี้สามารถขัดขวางรีเฟล็กซ์

กายวิภาคและสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร (Anatomy and physiology of alimentary system)

โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ พนัส เฉลิมแสนยากร

หลอดอาหาร (Esophagus) เป็นส่วนของทางเดินอาหารที่ ต่อจากบริเวณคอหอยส่วนกล่องเสียง (Laryngopharynx) ที่ระดับกระดูกสันหลังคอข้อที่ 6

โรคทางเดินอาหาร โรคระบบทางเดินอาหาร (Digestive disease)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

การติดเชื้อบางโรคอาการรุนแรง อาจเป็นสาเหตุเสียชีวิตได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาจากแพทย์ เช่น อหิวาตกโรค หรือโรคไทฟอยด์