logo

หน้าหลัก / ค้นหาโรคตามอวัยวะ

อวัยวะภายในร่างกาย

หัวใจ: กายวิภาคหัวใจ (Heart anatomy) / สรีรวิทยาของหัวใจ (Heart physiology)

หัวใจ (Heart หรือ Cardiac) เป็นอวัยวะที่มีหน้าที่สำคัญคือ การสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย หัวใจทำให้โลหิตไหลเวียน นำออกซิเจนจากอากาศจากปอดไปเลี้ยงเซลล์ทุกชนิดทางหลอดเลือดแดง และนำคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ของร่างกายกลับมาทางหลอดเลือดดำเพื่อปล่อยออกไปกับลมหายใจออก ทั้งนี้หัวใจจะทำหน้าที่ร่วมกับปอดเสมอ

อ่านเนื้อหาทั้งหมด

หัวใจ

หัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

ในผู้ป่วยที่มีอาการน้อย มักรักษาควบคุมโรคได้สูง แต่ถ้าผู้ป่วยเริ่มมาพบแพทย์โดยมีอาการมาก โดยเฉพาะมาพบแพทย์ด้วยภาวะหัวใจล้มเหลว อัตราเสียชีวิตจะประมาณ 56%

หัวใจเต้นผิดจังหวะ ภาวะหัวใจเสียจังหวะ (Arrhythmia)

โดย รองศาสตราจารย์นายแพทย์ สมภพ พระธานี

หัวใจ (Heart) เป็นอวัยวะที่ทำงานไม่มีวันหยุด นอกจากนี้ หัวใจยังสามารถสร้างกระแสไฟฟ้าได้ด้วยตัวเอง เพื่อกระตุ้นให้มีการบีบตัวโดยระบบประสาทของหัวใจ

อาหารป้องกันโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Dietary prevention of atherosclerosis)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกาด้านโภชนาการ (The American Heart Association Nutrition Committee) ได้แนะนำการบริโภคเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ

โรคหัวใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด (Heart disease หรือ Cardiovascular disease)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

โรคหัวใจและหลอดเลือดพบได้ทุกอายุ ตั้งแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึงผู้สูงอายุ เช่น ในเด็กแรกเกิดสาเหตุจะเป็นจากความผิดปกติแต่กำเนิด ส่วนในผู้สูงอายุที่พบบ่อยที่สุด คือ โรคหลอดเลือดหัวใจ

โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction)

โดย แพทย์หญิง สลิล ศิริอุดมภาส

หลักการรักษาโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่สำคัญที่สุดคือ ต้องให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่รวดเร็วทันท่วงทีก่อนที่กล้ามเนื้อหัวใจที่ขาดเลือดไปเลี้ยงจะตายลง