9.ตลาดการแพทย์ทางไกล – ตอนที่ 45

4.3 การมีส่วนร่วมและให้ความรู้แก่ผู้ป่วย

  • รณรงค์สร้างความตระหนักรู้ต่อสาธารณชน – เปิดตัวรณรงค์ (Campaign) สร้างความตระหนัก (Awareness) ในระดับประเทศเพื่อให้ความรู้ (Educate) แก่ประชาชนเกี่ยวกับการใช้บริการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) อย่างมีประสิทธิผล โดยมุ่งเน้น (Focus) ที่ชุมชนชนบท (Rural), ผู้สูงอายุ (Elderly), และผู้ที่มีโรคเรื้อรัง (Chronic)
  • สัมมนาความรู้ด้านสุขภาพ – จัดสัมมนาโดยร่วมมือ (Collaborate) กับโรงพยาบาลท้องถิ่นและศูนย์ชุมชน (Community) เพื่อสอนแนะ (Navigate) ประชาชนถึงวิธีการใช้ Platform (= เวทีพื้นฐาน) การแพทย์ทางไกล (Telemedicine), การทำความเข้าใจการให้คำปรึกษาออนไลน์ (Online consultation) และการจัดการโรคเรื้อรัง (Chronic) ผ่านการติดตามผลทางไกล (Remote monitoring)

4.4 ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  • เป็นพันธมิตรกับรัฐบาล – ร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) และหน่วยงานสาธารณสุขท้องถิ่นเพื่อให้สอดคล้อง (Align) กับความคิดริเริ่ม (Initiative) และเป้าหมายดูแลสุขภาพของประเทศ
  • ความร่วมมือกับภาคเอกชน – มีส่วนร่วม (Engage) กับผู้ให้บริการ (Provider) ดูแลสุขภาพเอกชน (Private), บริษัทประกัน (Insurance), และบริษัทเทคโนโลยี เพื่อพัฒนารูปแบบ (Model) ธุรกิจที่ยั่งยืน (Sustainable) และขยาย (Expand) บริการการแพทย์ทางไกล
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ – ร่วมมือกับองค์กรดูสุขภาพระหว่างประเทศ (International) และผู้นำ (Leader) ด้านการแพทย์ทางไกลเพื่อดึงความเชี่ยวชาญ (Expertise) มาใช้, แบ่งปัน (Share) แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practice), และทำให้มั่นใจ (Ensure) ว่าการลงมือปฏิบัติงาน (Implementation) สอดคล้องกับมาตรฐานโลก (Global standard)
  1. แผนการดำเนินการ

ระยะเวลา

กิจกรรม

เวลา

เป้าหมายสำคัญ

ระยะที่ 1: การทดสอบนำร่อง

ระบุ 3 จังหวัดสำหรับการนำร่อง (Pilot) ดำเนินความร่วมมือกับโรงพยาบาลและคลินิก ฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญดูสุขภาพเกี่ยวกับการใช้การแพทย์ทางไกล

ปีที่ 1

เริ่มโครงการนำร่องการแพทย์ทางไกลในจังหวัดที่เลือก

ระยะที่ 2: การขยายโครงการ

ขยายบริการการแพทย์ทางไกลครอบคลุม 10 จังหวัดเพิ่มเติม พัฒนารณรงค์ (Campaign) การรู้ (Literacy) เรื่องสุขภาพดิจิทัล ดำเนินการรูปแบบ (Model) เบิกคืนชดเชยตามสิทธิ์ (Reimburse) การแพทย์ทางไกล

ปีที่ 2-3

บริการแพทย์ทางไกลครอบคลุมประชากร 30% ของประเทศไทย

ระยะที่ 3: การใช้งานระดับประเทศ

การขยายตัวของการแพทย์ทางไกลทั่วประเทศ รวมการแพทย์ทางไกลเข้ากับระบบสาธารณสุข จัดทำโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพ (Professional development) อย่างต่อเนื่อง

ปีที่ 4-5

บริการแพทย์ทางไกลสามารถเข้าถึงได้สำหรับ 90% ของประชากรในประเทศไทย

แหล่งข้อมูล

  1. https://chatgpt.com/c/66f6b071-004c-800f-abe7-9fc1963f4c3e [2024, November 24].
  2. https://en.wikiversity.org/wiki/Telemedicine [2024, November 24].