logo

หน้าหลัก / ค้นหาโรคตามอวัยวะ

อวัยวะภายในร่างกาย

กล้ามเนื้อ

ยาเมทิลซาลิไซเลต (Methyl salicylate)

โดย เภสัชกร อภัย ราษฎรวิจิตร

ยาเมทิลซาลิไซเลต ยาชื่อการค้าที่เราคุ้นเคยคือ “ยาเคาน์เตอร์เพน (Counterpain)” มี สรรพคุณทาเพื่อบรรเทาอาการปวดต่างๆที่ไม่รุนแรงเช่น ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ

แคปไซซิน (Capsaicin)

โดย เภสัชกร อภัย ราษฎรวิจิตร

ยาแคปไซซินมีสรรพคุณดังนี้คือ ใช้เป็นยาทาภายนอกบรรเทาอาการปวดของกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ปวดหลัง โดยต้องใช้ตามคำแนะนำของแพทย์หรือเภสัชกร ห้ามใช้ยานี้ทากับบาดแผลฉีกขาด

ภาวะกล้ามเนื้อเต้นกระตุกชนิดไม่ร้ายแรง โรคบีเอฟเอส (Benign fasciculation syndrome: BFS)

โดย ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

ผู้ที่มีโอกาส/ปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคบีเอฟเอส ได้แก่ ผู้ที่ออกกำลังกายหนัก หักโหม อ่อนล้า นอนไม่พอ พักผ่อนไม่พอ มีความผิดปกติของเกลือแร่ เช่น แมกนีเซียมต่ำ

เนื้อแดง (Red meat) เนื้อขาว (White meat) เนื้อดำ (Dark meat)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

เนื้อแดง คือ เนื้อที่เมื่อยังไม่ได้ปรุง (เนื้อสด) จะมีสีออกแดง และเมื่อปรุงสุกแล้ว ก็จะไม่ซีดเป็นสีขาวแต่จะออกสีคล้ำ โดยทั่วไปเป็นเนื้อของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

การบาดเจ็บวิพแลช การบาดเจ็บกล้ามเนื้อ เส้นประสาท และ/หรือข้อต่อบริเวณคอ (Whiplash injury)

โดย ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

ส่วนใหญ่มีความเข้าใจผิดว่า ต้องมีอุบัติเหตุที่รุนแรงเท่านั้น หรือต้องขับรถด้วยความเร็วจึงจะเกิดปัญหา จริงๆแล้วความเร็วไม่สูงหรืออุบัติเหตุไม่รุนแรง