วิกฤติหมอกพิษ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)

วิกฤติหมอกพิษ-4

      

ตารางที่ 1 เกณฑ์ของดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทย
     AQI    
 ความหมาย
 สีที่ใช้
 ข้อความแจ้งเตือน
 0 - 25
 คุณภาพอากาศดีมาก
 ฟ้า
 คุณภาพอากาศดีมาก เหมาะสำหรับกิจกรรมกลางแจ้งและการท่องเที่ยว
 26 - 50
 คุณภาพอากาศดี
 เขียว
 คุณภาพอากาศดี สามารถทำกิจกรรมกลางแจ้งและการท่องเที่ยวได้ตามปกติ
 51 - 100
 ปานกลาง
 เหลือง
 ประชาชนทั่วไป : สามารถทำกิจกรรมกลางแจ้งได้ตามปกติ ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ : หากมีอาการเบื้องต้น เช่น ไอ หายใจลำบาก ระคายเคืองตา ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง
 101 - 200
 เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
 ส้ม
 ประชาชนทั่วไป : ควรเฝ้าระวังสุขภาพ ถ้ามีอาการเบื้องต้น เช่น ไอ หายใจลำบาก ระคายเคืองตา ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น
 ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ : ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ถ้ามีอาการทางสุขภาพ เช่น ไอ หายใจลำบาก ตาอักเสบ แน่นหน้าอก ปวดศีรษะ หัวใจเต้นไม่เป็นปกติ คลื่นไส้ อ่อนเพลีย ควรปรึกษาแพทย์
 201
ขึ้นไป
 มีผลกระทบต่อสุขภาพ
 แดง
 ทุกคนควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งทุก หลีกเลี่ยงพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศสูง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น หากมีอาการทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์

      

ตารางที่ 2 ค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศที่เทียบเท่ากับค่าดัชนีคุณภาพอากาศ
 AQI
 PM2.5
(มคก./ลบ.ม.)
 PM10
(มคก./ลบ.ม.)
 O3
(ppb)
 CO
(ppm)
 NO2
(ppb)
 SO2
(ppb)
 
 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง
 เฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อเนื่อง
 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง
 0 - 25
 0 - 25
 0 - 50
 0 - 35
 0 - 4.4
 0 - 60
 0 - 100
 26 - 50
 26 - 37
 51 - 80
 36 - 50
 4.5 - 6.4
 61 - 106
 101 - 200
 51 - 100
 38 - 50
 81 - 120
 51 - 70
 6.5 - 9.0
 107 - 170
 201 - 300
 101 - 200
 51 - 90
 121 - 180
 71 - 120
 9.1 - 30.0
 171 - 340
 301 - 400
 มากกว่า 200
 91 ขึ้นไป
 181 ขึ้นไป
 121 ขึ้นไป
 30.1 ขึ้นไป
 341 ขึ้นไป
 401 ขึ้นไป

      

แหล่งข้อมูล:

  1. ข้อมูลดัชนีคุณภาพอากาศ. http://air4thai.pcd.go.th/webV2/aqi_info.php [2018, January 11].