4. ตลาดเครื่องมือแพทย์ - ตอนที่ 20
- โดย ดร. วิทยา มานะวาณิชเจริญ
- 20 พฤศจิกายน 2566
- Tweet
ผู้เล่น (Player) ในตลาดเครื่องมือแพทย์ (Medical device) ระดับโลก (Global) ในปี พ.ศ. 2563 ได้แก่ [ตามลำดับรายได้]
- Medtronic (สัญชาติอเมริกัน) – 28.9 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,011.6 ล้านบาท)
- DePuy Synthes (สัญชาติอเมริกัน) – 26.0 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 910 ล้านบาท)
- Themo Fisder Scientific (สัญชาติอเมริกัน) – 25.5 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 5 ล้านบาท)
- Abbot Laboratories (สัญชาติอเมริกัน) – 20.0 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 0 ล้านบาท)
- GE Healthcare (สัญชาติอเมริกัน) – 19.9 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 5 ล้านบาท)
- Philips Healthcare (สัญชาติเนเธอร์แลนด์) – 19.0 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 665 ล้านบาท)
- Fresenius Medical Care (สัญชาติเยอรมัน) – 19.0 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 665 ล้านบาท)
- Siemens Healthineer (สัญชาติเยอรมัน) – 17.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 616 ล้านบาท)
- Beckton Dickinson (สัญชาติอเมริกัน) – 17.3 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 5 ล้านบาท)
- Cardinal Health (สัญชาติอเมริกัน) – 15.4 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 539 ล้านบาท)
ส่วนผู้ผลิต (Manufacturer) เครื่องมือแพทย์ในประเทศไทย ได้แก่ [ตามลำดับรายได้]
- Hoya Lens (สัญชาติเนเธอร์แลนด์)
- Nippro (สัญชาติญี่ปุ่น)
- Honsen Knitting (สัญชาติไทย)
- Thong Thai Textile (สัญชาติไทย)
- Kawasumi Laboratories (สัญชาติญี่ปุ่น)
- Reckitte Benchkiser (สัญชาติไทย)
- Daster (สัญชาติเนเธอร์แลนด์)
- E. Nikiso (สัญชาติญี่ปุ่น)
- Greiner Bio-one (สัญชาติออสเตรเลีย)
- Kendall-Gammatron (สัญชาติลักเซ็มเบอร์ก)
มูลค่าส่งออก (Export) เครื่องมือแพทย์จากไทย [ส่วนมากเป็นกลุ่มวัสดุสิ้นเปลือง (Supplies)] ไปยังจุดหมายปลายทาง (Destination): สหรัฐอเมริกา (29.6%), ญี่ปุ่น (11.7%), เนเธอร์แลนด์ (5.7%), เยอรมนี (5.6%), จีน (5.4%), สหราชอาณาจักร (4.5%), ฝรั่งเศส (3.8%), เบลเยี่ยม (2.2%), และที่เหลือทั้งหมด (31.4%)
มูลค่านำเข้า (Import) เครื่องมือแพทย์สู่ไทย [ส่วนมากเป็นกลุ่มครุภัณฑ์ (Equipment)] จากผู้จำหน่าย (Supplier): สหรัฐอเมริกา (22.7%), จีน (16.9%), เยอรมนี (10.4%), ญี่ปุ่น (7.6%), ไอร์แลนด์ (4.5%), เวียดนาม (4.4%), เกาหลีใต้ (3.1%), มาเลเซีย (3.0%), และที่เหลือทั้งหมด (27.5%)
แหล่งข้อมูล –