logo

หน้าหลัก / ค้นหาโรคตามอวัยวะ

อวัยวะภายในร่างกาย

มดลูก

แท้งคุกคาม (Threatened abortion)

โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ประนอม บุพศิริ

ในสตรีที่ตั้งครรภ์อ่อนๆ ส่วนมากจะมีความรู้สึกปวดหน่วงๆในท้องน้อยได้ เกิดเนื่อง จากเลือดมาเลี้ยงบริเวณอุ้งเชิงกรานมาก ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปกติ

ท้องลม ท้องหลอก (Blighted ovum)

โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ประนอม บุพศิริ

การที่หลังจากมีการปฏิสนธิแล้ว ทารกไม่สามารถเจริญเติบโตได้ ปัญหาหลัก เกิดจากมีความผิดปกติของโครโมรโซมของทารก

มะเร็งรก (Choriocarcinoma)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์

ปัจจุบัน ยังไม่มีวิธีตรวจคัดกรองมะเร็งรก แต่ในผู้ป่วยที่มีครรภ์ไข่ปลาอุก ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของมะเร็งรก แพทย์จะนัดผู้ป่วยเป็นระยะๆอย่างน้อย 1 ปี

ครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy)

โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ประนอม บุพศิริ

การดูแลตนเองเมื่อมีครรภ์ไข่ปลาอุก คือ ต้องดูแลตนเองอย่างเคร่งครัดตามแพทย์ พยาบาลแนะนำ เนื่องจากไม่สามารถตั้งครรภ์ (ครั้งนี้) ต่อไปได้ แพทย์จะให้นอนพักรักษาตัว

แพ้ท้อง อาการแพ้ท้อง (Morning sickness)

โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ประนอม บุพศิริ

สตรีตั้งครรภ์ส่วนมากก็จะผ่านพ้นช่วงนี้ไปได้ โดยไม่ต้องรับประทานยาแก้แพ้ท้องจากแพทย์ นอก จากนั้นสามีของสตรีตั้งครรภ์จะมีบทบาทมากในช่วงนี้