logo

หน้าหลัก / ค้นหาโรคตามอวัยวะ

อวัยวะภายในร่างกาย

ระบบตา

ตาเหล่ ตาเข (Strabismus)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต

เมื่อพบว่าเด็กตาเข ควรพาเด็กปรึกษาจักษุแพทย์ (หมอตา) ทันที ความเข้าใจที่ว่าโตจะหายเองเป็นการเข้าใจที่ผิด ที่หายได้เป็นเฉพาะผู้ที่มีตาเขเทียมเท่านั้น

การแก้ไขสายตาผิดปกติด้วยวิธีผ่าตัด (Refractive surgery)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต

การผ่าตัดแก้วตาเพื่อแก้ไขสายตาผิดปกติมีวิธีต่างๆดังนี้ 1. เอาแก้วตาธรรมชาติออกอย่างเดียว 2. เอาแก้วตาธรรมชาติออกไม่ว่าจะเป็นต้อกระจกหรือไม่ก็ตาม

สารเคมีเข้าตา (Chemical eye burns)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต

คนทั่วไปเข้าใจผิดว่ากรดทำลายดวงตาได้มากกว่า ความจริงด่างทำลายได้มากกว่าโดยเฉพาะด่างแอมโมเนียม ไฮดรอกไซด์ (Ammo nium hydroxide/NH4OH)

ตาขี้เกียจ (Amblyopia)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต

เด็กเล็กๆบอกไม่ได้ว่าตนเองตามองไม่เห็นหรือตามัว และภาวะนี้ไม่มีอาการเจ็บปวดหรือเคืองตาทั้งสิ้น เด็กไม่ทราบว่ามีตามัวอยู่ข้างหนึ่ง เพราะใช้แต่ตาข้างดี

การผ่าตัดสลายต้อกระจกและการแก้ไขสายตาหลังผ่าตัด (Phacoemulsification and aphakic correction)

โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต

วิธีที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบันคือ การใช้คลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound) ไปสลายต้อกระจกให้มีขนาดเล็กลงเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย