เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) : ตอน ข้อแนะนำการบริโภคอาหารสำหรับคนปกติ

ข้อแนะนำการบริโภคสารอาหารประจำวันของแต่ละประเทศจะมีค่าที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมการบริโภคอาหารและวิถีการดำเนินชีวิตของประชากร สำหรับประเทศไทย กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับสำหรับคนไทยโดยแบ่งกลุ่มคนไทยเป็น กลุ่มใหญ่ ตามวัย เพศ ดังที่แสดงในตาราง

กลุ่มตามอายุและเพศ น้ำหนัก กิโลกรัม ส่วนสูง เซนติเมตร พลังงาน กิโลแคลอรี/วัน โปรตีน กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน โปรตีน กรัม/วัน
ทารก ทั้งชายหญิง
0-5 เดือน 5 58 น้ำนมแม่ น้ำนมแม่ น้ำนมแม่
6-11 เดือน 8 71 800 1.9 15
เด็ก ทั้งชายหญิง
1-3 ปี 13 90 1,000 1.4 18
4-5 ปี 18 108 1,300 1.2 22
6-8 ปี 23 122 1,400 1.2 28
วัยรุ่น
วัยรุ่นผู้ชาย
9-12 ปี 33 139 1,700 1.2 40
13-15 ปี 49 163 2,100 1.2 58
16-18 ปี 57 169 2,300 1.1 53
วัยรุ่นผู้หญิง
9-12 ปี 34 143 1,600 1.2 41
13-15 ปี 46 155 1,800 1.2 55
16-18 ปี 48 157 1,850 1.1 53
ผู้ใหญ่
ผู้ใหญ่ผู้ชาย
19-30 ปี 57 166 2,150 1.0 57
31-50 ปี 57 166 2,100 1.0 57
51-70 ปี 57 166 2,100 1.0 57
>71 ปี 57 166 1,750 1.0 57
ผู้ใหญ่ผู้หญิง
19-30 ปี 52 155 1,750 1.0 52
31-50 ปี 52 155 1,750 1.0 52
51-70 ปี 52 155 1,750 1.0 52
>71 ปี 52 155 1,550 1.0 52
หญิงตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 1 + 0 + 25
ไตรมาสที่ 2 + 300 + 25
ไตรมาสที่ 3 + 300 + 25
หญิงให้นมบุตร
0-5 เดือน + 500 +25
6-11 เดือน + 500 +25

หมายเหตุ สำหรับการคำนวณปริมาณความต้องการพลังงานนั้นต้องประเมินความต้องการจากน้ำหนักตัวที่ควรจะเป็นซึ่งได้กล่าวไว้ในบทความ “เราจะรู้ได้อย่างไรว่าได้รับสารอาหารและพลังงานเพียงพอ”

แหล่งข้อมูล:

  1. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย.[อินเตอร์เน็ต].[เข้าถึงเมื่อ 29 ธันวาคม 2555].เข้าถึงได้จาก http://nutrietion.anamai.moph.go.th/rda%2004103.htm [2013,Jan 14].