เข้าสู่ระบบ
|
ลงทะเบียน
Tweet
ค้นหาตามอาการ
ค้นหาตามอวัยวะ
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิง
เพศศึกษา
สุขภาพทั่วไป
เกร็ดสุขภาพ
หน้าหลัก
»
บล็อก
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: การใช้ยาหยอดตาผิดผิด
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุณแม่พาบุตรชายวัย 12 ปี มาจากจังหวัดพิษณุโลกเพื่อมารักษาตาที่แดง น้ำตาไหล ขยี้ตาเป็นประจำมา2 – 3 ปี เคยไปรับการตรวจจากหมอตาที่พิษณุโลกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิแพ้ เมื่อใช้ยาอาการก็หายดีไปชั่วคราว โดยไปพบหมอเพียงครั้งเดียว
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 16 : ประสบการณ์จากอังกฤษ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Ageing) มิใช่เป็นประเด็นโดดเด่น (Unique) ของสมัยปัจจุบัน เพียงแต่ว่าใน 2 – 3 ร้อยปีที่ผ่าน มันได้กลายเป็นสิ่งธรรมดาสามัญ (Commonplace) โดยมีการสันนิษฐานกันว่า ผู้สูงอายุยุคก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic) เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก (Extremely rare)
4 สิงหาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารอลูมิเนียม เป็นสารที่มีพิษต่อประสาท อาจทำให้ความจำแย่ลง อารมณ์ผิดปกติ เช่น หดหู่ซึมเศร้า วิตกกังวล ทั้งนี้สารอลูมิเนียมจะไปรบกวนการทำงานของเซลล์ในสมอง โดยระดับอลูมิเนียมที่สูงจะมีส่วนสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid proteins) และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน โรคไร้ม่านตา (Aniridia)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ม่านตา (iris) เป็นส่วนของตาที่อยู่ภายในลูกตา มีสีน้ำตาลถึงค่อนข้างดำในชาวเอเชีย แต่ออกสีฟ้าหรือเทาอ่อนในชาว caucacian เป็นส่วนของตาที่มีเลือดมาเลี้ยงมากมาย เป็นแผ่นคล้ายเหรียญสตางค์ที่มีรูตรงกลาง (ที่เรียกว่า รูม่านตา) ยืดและหดได้เพื่อปกป้องให้แสงเข้าตาอย่างเหมาะสม
15 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 15 : การฆ่าตัวตายในวัยชรา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในบรรดากลุ่มผู้คนที่ฆ่าตัวตาย (Suicide) ปรากฏว่า อัตราสูงสุดอยู่ในกลุ่มวัยชรา (Elderly) สำหรับคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป อัตราฆ่าตัวตาย (รวมทั้งการมีแพทย์ช่วยฆ่าตัวตาย) ในสหรัฐอเมริกาสูงเกือบ 2 เท่า (20 ต่อ 100,000 คน) เมื่อเทียบกับตัวเลขถัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (12 ต่อ 100,000 คน)
29 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารตะกั่ว ข้อมูลของ The Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ระบุว่า อาการจะแย่ลงหากมีปริมาณสารตะกั่วสะสมในเลือดมาก ซึ่งอาการโดยทั่วไปได้แก่ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดเกร็งท้อง (Stomach cramps) ท้องผูก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย เจ้าอารมณ์ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ โลหิตจาง
21 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน คนเผือก (Albinism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
โรคเผือก หรือ โรคคนเผือก หรือ สภาพเผือก (Albinism) เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์หรือการกระจายของเม็ดสีของเซลล์ในร่างกายผิดปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยมี ผิวหนัง ผม หรือร่วมกับสีตาที่อ่อนกว่าปกติ ภาวะนี้เกิดได้ในคน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
8 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 14 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ทีมนักวิจัยของนายแพทย์จอร์จ เดวี่-สมิธ (George Davey-Smith) ได้กล่าวสรุปหลังการวิเคราะห์อัตราการตายของผู้ชายเกือบ 1,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 59 ปี ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเวลส์ (Wales) ว่า กิจกรรมทางเพศ (Sexual activity) ดูเหมือนจะมีผลกระทบที่ป้องกัน (Protective effect) สุขภาพของผู้ชาย....
22 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผลของสารพิษโลหะสามารถทำให้เกิดพิษได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อโดยตรงและรบกวนการทำงานของขั้นตอนการเผาผลาญอาหาร (Metabolic processes) 2. ทำลายสารอาหารอันเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะสารอาหารบกพร่องของร่างกาย (Nutritional Deficiencies)
20 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ตาบอด (Blindism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนตาบอด(Blindism)โดยเฉพาะที่เป็นแต่เด็ก ไม่เคยมองเห็นมาก่อน แม้จะปรับตัวและมีสภาพจิตใจที่ดีกว่าคนตาบอดที่เกิดในภายหลัง คนตาบอดกลุ่มนี้มักจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากคนตาดี ซึ่งบางอย่างควรจะแก้ไขเพื่อว่าเขาจะสามารถอยู่ในสังคมเดียวหรือเหมือนคนปกติได้ พฤติกรรมแปลกๆ ต่างๆ ได้แก่....
1 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 13 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
นักวิจัยรายงานผลว่า ผู้หญิงที่พบว่ากิจกรรทางเพศเติมความเต็ม (Fulfilling) และความสมบูรณ์ (Enriching) ให้ชีวิต ก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีแนวโน้มที่จะดื่มด่ำความสุขจากกิจกรรมทางเพศหลังวัยหมประจำเดือน และเข้าสู่ผู้ใหญ่วัยดึก (Late adulthood)...
15 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีหนังสือแจ้งไปยังนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่ อ.ชัยบาดาล จำนวน 8 แห่ง ประกอบไปด้วย อบต.ห้วยหิน อบต.ม่วงค่อม อบต.ท่าดินดำ อบต.ชัยนารายณ์ อบต.ลำนารายณ์ อบต.บ้านใหม่สามัคคี อบต.ศิลาทิพย์ และอบต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล ว่าจะจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน...
19 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ประเมินสายตาเด็กเล็กได้อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เด็กแรกเกิดที่ท้องครบกำหนดและคลอดปกติ ลักษณะทางกายภาพของตาอาจจะมองดูปกติ มีส่วนต่างๆภายในลูกตาปกติ แต่การมองเห็นจะยังไม่สมบูรณ์นัก กล่าวคือจอตาซึ่งบุอยู่ภายในลูกตายังพัฒนาไม่เต็มที่ เด็กแรกเกิดจึงมีการมองเห็นอยู่ในขั้นเลือนรางทันทีที่เด็กลืมตา มีแสงสว่างเข้าตาไปกระทบจอตา การพัฒนาการมองเห็นจะเริ่มขึ้นและดำเนินไปเรื่อยๆ
24 กันยายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 12 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มักใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้คนที่มีอายุระหว่าง 17 ถึง 59 ปี โดยรายงานว่า ชายโสดมีคู่ขาประจำทางเพศ (Sex partner) บรรลุจุดสุดยอด (Orgasm) บ่อยถี่กว่า และสำเร็จความใคร่ (Masturbate) มากกว่า หญิงโสด และประมาณ 1 ใน 3 ของคู่แต่งงาน มีเพศสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง...
8 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภายหลังการผ่าตัดเพื่อตัดกระเพาะปัสสาวะออก จะมีการทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion) ได้หลายวิธี เช่น แพทย์อาจใช้ท่อ (Urinary conduit) ต่อจากท่อไต (Ureters) เพื่อถ่ายน้ำปัสสาวะออกจากร่างกายไปที่ถุงหน้าท้อง (Urostomy bag)
17 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H7N9 (ตอนที 1)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
สำนักงานสาธารณสุขเซี่ยงไฮ้ ได้สั่งการให้โรงพยาบาลหลายแห่งเพิ่มมาตรการติดตามและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโรคระบาดไข้หวัดนกอย่างใกล้ชิด หลังจากเชื้อไวรัสกลายพันธุ์ได้สังหารผู้ป่วยดับไปแล้วสองรายในเซี่ยงไฮ้ เมื่อเดือนที่ผ่านมา และยังพบผู้ป่วยที่เจียงซูติดเชื้อเป็นรายที่ 4 ด้วย
8 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
“สเต็มเซลล์” ตัวช่วยหรือตัวเสี่ยง (ตอนที่ 5 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ส่วนกระแสข่าวที่พบว่า มีผู้มีชื่อเสียงพากันไปฉีดสเต็มเซลล์เพื่อหวังผลด้านความสวยความงามนั้น รศ .ดร. คล้ายอัปสร พงศ์รพีพร อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และกรรมการห้องปฏิบัติการฮาร์ท จีเนติกส์ (Heart Genetics Laboratory) เผยถึงผลการตรวจที่พบความผิดปกติอย่างน่าสงสัยของผู้ที่มาใช้บริการตรวจดีเอ็นเอ (DNA) ว่า พบความผิดปกติในดีเอ็นเอของลูกค้ากลุ่มหนึ่งซึ่งมีการกลายพันธุ์
7 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 61 : เครื่องมือรังสีวินิจฉัยและรังสีรักษา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การถ่ายภาพ (Radiography) เป็นหัตถการ (Procedure) ที่คนส่วนมากจะคิดถึง เมื่อแพทย์สั่งให้ผู้ป่วยไปเอ็กซ์เรย์(X-ray) เครื่องมือชนิดแรกที่มีมาแต่ดังเดิม คือเครื่องเอ็กซ์เรย์ซึ่งยังคงเป็นเครื่องยอดนิยมไปทั่วโลก มาจนถึงปัจจุบัน ผลลัพธ์ คือแผ่นฟิล์ม 2 มิติสีขาวดำ (Radiograph) ของอัวยวะร่างกายของผู้ป่วยที่แพทย์ต้องการค้นหาสาเหตุของโรค
7 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
“สเต็มเซลล์” ตัวช่วยหรือตัวเสี่ยง (ตอนที่ 4)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ข้อดีของการรักษาด้วยสเต็มเซลล์ที่คาดว่าจะได้รับ รวมถึง : สเต็มเซลล์ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากในการรักษาโรคตามเวชศาสตร์ฟื้นฟูสภาวะเสื่อม (Regenerative medicine) สเต็มเซลล์ ทำให้เกิดความเป็นไปได้ในการรักษาโรคหลายชนิด เช่น โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน อุบัติเหตุที่ไขสันหลัง และอื่นๆ
6 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 60 : ฝ่ายรังสีวินิจฉัยและรังสีรักษา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ผู้ป่วยที่ไปโรงพยาบาล ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่า ตัวเองเจ็บป่วยด้วยโรคอะไร แต่สามารถบอกได้ว่า ตนเจ็บปวดส่วนไหนของร่างกาย ฝ่ายรังสีวินิจฉัย(Diagnostic Imaging) และรังสีรักษา (Therapeutic radiology) เข้ามารับมือกับประเด็นนี้ได้ โดยเป็นส่วนประกอบสำคัญในระบบดูแลสุขภาพ การใช้บริการรังสีวินิจฉัย มักช่วยให้แพทย์ได้มองเห็นสาเหตุการเจ็บป่วย
6 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อยู่อย่างไรให้เป็นสุขกับโรคลมชัก : ชัก...แบบไม่ธรรมดา
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
การชักที่พบได้บ่อย คือ 1. อาการชักทั้งตัวและขาดสติ 2. การชักเฉพาะที่ตามด้วยชักเกร็งกระตุกทั้งตัว ซึ่งการชักทั้ง 2 แบบนี้ แพทย์ส่วนใหญ่และประชาชนทั่วไปรู้จักเป็นอย่างดี แต่มีการชักบางรูปแบบที่พบไม่บ่อยทำให้ยากต่อการวินิจฉัย ผมจึงขอเล่าให้เราฟังถึงการชักแบบที่ไม่บ่อย
5 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
“สเต็มเซลล์” ตัวช่วยหรือตัวเสี่ยง (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ความก้าวหน้าในการวิจัยสเต็มเซลล์เป็นไปอย่างรวดเร็ว ล่าสุดงานวิจัยที่คว้ารางวัลโนเบลของ ศาสตราจารย์ชินยะ ยามานากะ ชาวญี่ปุ่นผู้ค้นพบวิธีการการนำเซลล์ชนิดใดก็ได้ในร่างกายมนุษย์มาทำให้กลายเป็นเซลล์ไอพีเอส (Induced pluripotent stem cells : IPS cells) ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือน Embryonic stem cells ที่สามารถเปลี่ยนเป็นเซลล์ใดก็ได้ในร่างกาย เนื่องจากเป็นเซลล์ของตัวผู้ป่วยเองจึงมีประโยชน์อย่างมากในการพัฒนาการรักษาใหม่
5 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
“สเต็มเซลล์” ตัวช่วยหรือตัวเสี่ยง (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
• สเต็มเซลล์จากตัวอ่อน (Embryonic stem cells) สเต็มเซลล์นี้เกิดจากตัวอ่อนที่มีอายุ 4 - 5 วัน ในระยะนี้ตัวอ่อนจะถูกเรียกว่า “Blastocyst” ซึ่งมีประมาณ 150 เซลล์ และมีคุณสมบัติในการแบ่งตัวออกเป็นเซลล์ต้นกำเนิดใหม่ หรือ เปลี่ยนแปลงจากเซลล์ต้นกำเนิดไปเป็นเซลล์จำเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่นๆ ได้หลายชนิด (Pluripotent stem cells)
4 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน 12: ยาขยายม่านตา
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ระยะนี้เห็นมีผู้ที่ได้รับการตรวจตา โดยการหยอดยาขยายม่านตาก่อนตรวจมีข้อสงสัยสอบถามมามากมาย จึงขอถือโอกาสเล่าถึงยาขยายม่านตา ในคนปกติ ม่านตาคนเรามีขนาดเล็กประมาณ เส้นผ่าศูนย์กลาง 3 -4 ม.ม. จะมีขนาดเล็กลงเมื่อถูกแสงสว่าง การตรวจอวัยวะภายในตา ทั้ง แก้วตา น้ำวุ้นตา จอตา ตลอดจนขั้วประสาทตา
4 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เรื่องเฉพาะสตรี...วัยเจริญพันธุ์ ตอนที่ 9
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
การคุมกำเนิดฉุกเฉิน หากหมายถึงวิธีการคุมกำเนิดที่จำเป็นต้องใช้เมื่อมีเวลาเตรียมตัวน้อย (แต่พอมี) ล่ะก็ อาจนำวิธีการข้างต้น เช่น ถุงยางอนามัยบุรุษ ถุงยางอนามัยสตรี กะบังกั้น ยาฆ่าเชื้ออสุจิ การหลั่งข้างนอก มาใช้ได้ แต่ถ้าหากได้มีเพศสัมพันธ์ไปก่อนหน้านั้นแล้ว ต้องการป้องกันไม่ให้ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้วได้ฝังตัวลงไปบนเยื่อบุโพรงมดลูกสำเร็จ
3 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
“สเต็มเซลล์” ตัวช่วยหรือตัวเสี่ยง (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
เซลล์ต้นกำเนิดหรือที่เรียกกันว่า “สเต็มเซลล์” (Stem cells) คำนี้เป็นคำที่สร้างปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ให้ความหวังว่าจะสามารถรักษาโรคได้ทุกโรค เป็นชื่อของสิ่งมหัศจรรย์ในโลกยุคใหม่ในการไขว่คว้าที่จะมีชีวิตอันยืนยาว หรือการยืดความหนุ่มสาวของมนุษย์
3 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เครื่องมือทำแท้ง แจ้งเกิดที่ร้านยา (ตอนที่ 5 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
การขยาย (Dilation) และช้อนขูด (Curette) เรียกย่อๆ ว่า D&C การขยายปากมดลูก มีจุดมุ่งหมาย เพื่อลดความเสี่ยงการบาดเจ็บของปากมดลูกระหว่างหัตถการ โดยแพทย์อาจให้ยา Misoprostol หลายชั่วโมงก่อนผ่าตัด เพื่อช่วยให้ปากมดลูกเปิดช้าๆ
2 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อยู่อย่างไรให้เป็นสุขกับโรคลมชัก : ชัก...ที่ควรทราบ
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
เมื่อพูดถึงคำว่าชัก ทุกคนจะคิดถึงภาพที่คนมีอาการชักเกร็งกระตุกทั้งตัว กัดฟันแน่น น้ำลายฟูมปาก ถูกเรียกแล้วไม่รู้สึกตัว จึงไม่แปลกใจที่ทุกคนจะกลัวการชักเป็นชีวิตจิตใจ ไม่อยากให้เกิดขึ้นกับคนที่เรารัก แต่จริงๆแล้ว อาการชักไม่ใช่มีเพียงรูปแบบข้างต้นเท่านั้น ยังมีการชักอีกหลายรูปแบบ ผมจะขอกล่าวถึงการชักแต่ละชนิดเพื่อให้ท่านได้เข้าใจ
2 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เครื่องมือทำแท้ง แจ้งเกิดที่ร้านยา (ตอนที่ 4)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ข้อดีของการรักษาด้วยสเต็มเซลล์ที่คาดว่าจะได้รับ รวมถึง สเต็มเซลล์ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมากในการรักษาโรคตามเวชศาสตร์ฟื้นฟูสภาวะเสื่อม (Regenerative medicine) สเต็มเซลล์ ทำให้เกิดความเป็นไปได้ในการรักษาโรคหลายชนิด เช่น โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน อุบัติเหตุที่ไขสันหลัง และอื่นๆ
1 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็งตอน: ขั้นตอนการทำงานของแพทย์รักษามะเร็ง <br/> ตอนที่ 8 ช่วงพักฟื้นและการประเมินผลรักษา
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
ขั้นตอนการทำงานของแพทย์รักษามะเร็ง ตอนที่8 ช่วงพักฟื้นและการประเมินผลรักษา
1 เมษายน 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เครื่องมือทำแท้ง แจ้งเกิดที่ร้านยา (ตอนที่ 3)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
การขยาย (Dilation) และช้อนขูด (Curette) เรียกย่อๆ ว่า D&C ภาวะปกติของคนไข้หลังทำ D&C คนไข้อาจมีเลือดออกเป็นหยดๆ ใน 2 สัปดาห์แรก ช่วงสัปดาห์แรกหลีกเลี่ยงผ้าอนามัยแบบสอดและใช้แบบแผ่นเท่านั้น มดลูกยังมีภาวะเกร็งตัว อาจมีระยะเวลาหลายชั่วโมงถึงหลายวัน ในที่สุดมดลูกหดตัวเป็นปกติ คนไข้มีภาวะเครียดเป็นเวลา 2 - 3 วัน
31 มีนาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 59 : วิวัฒนาการห้องปฏิบัติการ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
เช่นเดียวกับสาขาอื่นๆทางการแพทย์ ห้องปฏิบัติการได้วิวัฒนการมาอย่างรวดเร็ว โดยการทดสอบใหม่ๆ เกิดขึ้นในสาขาการวินิจฉัยโมเลกุล (Molecular diagnostics) อาทิ วิธีการนำตัวอย่าง/สิ่งส่งตรวจ (Specimen) ของผู้ป่วยมาตรวจหาลำดับฐานของ RNA (=Ribonucleic acid)/(DNA (=Deoxyribonucleic acid) โดยเฉพาะ
31 มีนาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เครื่องมือทำแท้ง แจ้งเกิดที่ร้านยา (ตอนที่ 2)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ขั้นตอนแรกของ การขยายตัวออก (Dilation) และการขับออก (Evacuation) หรือ D&E คือการทำให้ปากมดลูกขยายออก ปกติจะทำก่อนเริ่มหัตถการ (Procedure) 1 วัน และมีการสอดแท่งที่ประกอบเป็นชั้นๆ (Laminaria) หลายแท่งเข้าไปในปากมดลูก เปิดปากมดลูกให้ใหญ่ขึ้นเพียงพอที่เครื่องมือเช่นที่ขูดแผล (Curette) หรือที่คีบ (Forceps) จะถูกสอดไปถึงมดลูก
30 มีนาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 58 : สภาเทคนิคการแพทย์ไทย
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในระยะแรกของการประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ในประทเศไทย ต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2479 โดยมีคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะเป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน และไม่ให้มีผู้แสวงหาผลประโยชน์หรือใช้วิชาชีพโดยมิชอบ ทำให้เกิดความเสียหายต่อประชาชน
30 มีนาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อยู่อย่างไรให้เป็นสุขกับโรคลมชัก : เมื่อลูกชายผม...ชัก
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
“ไม่เป็นไรครับ ไม่ต้องตกใจ ลูกของคุณจะไม่เป็นอะไร ไม่ต้องกังวลว่าระดับสติปัญญาจะต่ำกว่าเด็กทั่วไป” ทั้งหมดเป็นคำพูดที่ผมพูดกับคุณพ่อ-คุณแม่บ่อยๆที่พาลูกมาพบผมด้วยอาการชัก พ่อ-แม่ทุกคนแสดงท่าทางสงสัยว่าจริงหรือ เพราะเท่าที่ได้ยินจากผู้ใหญ่
29 มีนาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หน้า 191/225:
ก่อนหน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
ถัดไป
เด็กที่ความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (ตอนจบ)
โดย โสธิดา ผุฏฐธรรม
โภชนาการกับการหายของแผล(Nutrition in Wound Care) ตอนที่ 6
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ปัจจัยมนุษย์หรือการยศาสตร์ (ตอนที่ 8 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ผมร่วง ศีรษะล้าน รักษาได้ ตอน ลดผมร่วง ขาดง่าย
โดย พญ.ชลธิรศน์ ศรีเกษตรสรากุล
Hoarding Disorder โรคเก็บสะสมของ (ตอนที่ 1)
โดย พ.ท.หญิง กุลกานต์ ฤทธิ์ฤๅชัย รัตนวราหะ
รีวิวตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
โดย ทีมงาน Haamor.com
ศิริราชผ่าตัดส่องกล้องรักษา “ภาวะกระเพาะปัสสาวะอุดกั้น” (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย ปราง เทพินทราภิรักษ์
จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 201 : สู่ปัจจัยทางจิตและสุขภาพ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
สาระน่ารู้จากหมอตาตอน อาหารที่ป้องกันโรคต้อกระจก
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน ผลของรังสีรักษาในเนื้องอกพังผืดชนิดรุกรานรุนแรง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
ถั่วเหลืองกับสุขภาพ เมนูที่2 เมนู วุ้นน้ำเต้าหู้งาดำ-ฟรุตสลัด
โดย กาญจนา ฉิมเรือง
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 12 (ตอนจบ)
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
การจัดการภาวะแทรกซ้อนยาต้านรีโทรไวรัส ตอน 25
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
ลมชักฉันรักเธอ ภาค2: น้องออยทำได้ (ตอนสุดท้ายของภาค2)
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ กินอย่างไรดี
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
ไทฟอยด์ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ลดน้ำหนักลดอาหาร มักอยู่นานอายุยืน (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย ปฐมา ลอออรรถพงศ์
หมอสมศักดิ์ตอบ:การซื้อยาทานเอง ทำได้หรือไม่
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
สมาชิกที่ใช้งานอยู่ขณะนี้ คน
หน้าหลัก
|
ข่าว/บล็อก
|
บทความสุขภาพ
|
ค้นหาโรงพยาบาล
|
เว็บบอร์ด
|
ข้อตกลงการใช้งาน
|
เกี่ยวกับเรา
|
แพ็คเกจสุขภาพ
ขอสงวนสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ห้ามมิให้ทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ตีพิมพ์ เผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของ website หาหมอ.com ก่อน และบทความ ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com เป็นเพียงความคิดเห็นของผู้เขียน ไม่สามารถนำไปเป็นหลักฐานในการฟ้องร้อง หรือใช้ทดแทนคำวินิจฉัย และ หรือ การรักษาจากแพทย์ได้
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิงและความงาม
เกร็ดสุขภาพ
สุขภาพทั่วไป
เพศศึกษา
ข่าว/บล็อก
กรดไหลย้อน
กรวยไตอักเสบ
ความดันโลหิตต่ำ
ความดันโลหิตสูง
ดาวน์ซินโดรม
ธาลัสซีเมีย
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคของจอตา
ปอดบวมในเด็ก
ปัสสาวะรดที่นอน
พังผืดที่จอตา
ต้อเนื้อ
ตาบอดสี
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก
โรคพยาธิใบไม้ตับ
โรคลมชัก
โรคตับอักเสบ
โรคภูมิแพ้หูคอจมูก
ระยะหลังคลอด
คันทวารหนัก
ช่องคลอดมีกลิ่น
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส
โรคสมองเสื่อม
ปวดหลังช่วงล่าง
การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติ
โรคติดเชื้อเอชพีวี
สิ่งแปลกปลอมในจมูก
การแท้งบุตร
โรคมะเร็งคอหอย
© 2011-2012 HaaMor.com. All rights reserved.