เข้าสู่ระบบ
|
ลงทะเบียน
Tweet
ค้นหาตามอาการ
ค้นหาตามอวัยวะ
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิง
เพศศึกษา
สุขภาพทั่วไป
เกร็ดสุขภาพ
หน้าหลัก
»
บล็อก
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: การใช้ยาหยอดตาผิดผิด
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุณแม่พาบุตรชายวัย 12 ปี มาจากจังหวัดพิษณุโลกเพื่อมารักษาตาที่แดง น้ำตาไหล ขยี้ตาเป็นประจำมา2 – 3 ปี เคยไปรับการตรวจจากหมอตาที่พิษณุโลกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิแพ้ เมื่อใช้ยาอาการก็หายดีไปชั่วคราว โดยไปพบหมอเพียงครั้งเดียว
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 16 : ประสบการณ์จากอังกฤษ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Ageing) มิใช่เป็นประเด็นโดดเด่น (Unique) ของสมัยปัจจุบัน เพียงแต่ว่าใน 2 – 3 ร้อยปีที่ผ่าน มันได้กลายเป็นสิ่งธรรมดาสามัญ (Commonplace) โดยมีการสันนิษฐานกันว่า ผู้สูงอายุยุคก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic) เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก (Extremely rare)
4 สิงหาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารอลูมิเนียม เป็นสารที่มีพิษต่อประสาท อาจทำให้ความจำแย่ลง อารมณ์ผิดปกติ เช่น หดหู่ซึมเศร้า วิตกกังวล ทั้งนี้สารอลูมิเนียมจะไปรบกวนการทำงานของเซลล์ในสมอง โดยระดับอลูมิเนียมที่สูงจะมีส่วนสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid proteins) และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน โรคไร้ม่านตา (Aniridia)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ม่านตา (iris) เป็นส่วนของตาที่อยู่ภายในลูกตา มีสีน้ำตาลถึงค่อนข้างดำในชาวเอเชีย แต่ออกสีฟ้าหรือเทาอ่อนในชาว caucacian เป็นส่วนของตาที่มีเลือดมาเลี้ยงมากมาย เป็นแผ่นคล้ายเหรียญสตางค์ที่มีรูตรงกลาง (ที่เรียกว่า รูม่านตา) ยืดและหดได้เพื่อปกป้องให้แสงเข้าตาอย่างเหมาะสม
15 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 15 : การฆ่าตัวตายในวัยชรา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในบรรดากลุ่มผู้คนที่ฆ่าตัวตาย (Suicide) ปรากฏว่า อัตราสูงสุดอยู่ในกลุ่มวัยชรา (Elderly) สำหรับคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป อัตราฆ่าตัวตาย (รวมทั้งการมีแพทย์ช่วยฆ่าตัวตาย) ในสหรัฐอเมริกาสูงเกือบ 2 เท่า (20 ต่อ 100,000 คน) เมื่อเทียบกับตัวเลขถัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (12 ต่อ 100,000 คน)
29 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารตะกั่ว ข้อมูลของ The Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ระบุว่า อาการจะแย่ลงหากมีปริมาณสารตะกั่วสะสมในเลือดมาก ซึ่งอาการโดยทั่วไปได้แก่ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดเกร็งท้อง (Stomach cramps) ท้องผูก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย เจ้าอารมณ์ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ โลหิตจาง
21 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน คนเผือก (Albinism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
โรคเผือก หรือ โรคคนเผือก หรือ สภาพเผือก (Albinism) เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์หรือการกระจายของเม็ดสีของเซลล์ในร่างกายผิดปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยมี ผิวหนัง ผม หรือร่วมกับสีตาที่อ่อนกว่าปกติ ภาวะนี้เกิดได้ในคน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
8 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 14 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ทีมนักวิจัยของนายแพทย์จอร์จ เดวี่-สมิธ (George Davey-Smith) ได้กล่าวสรุปหลังการวิเคราะห์อัตราการตายของผู้ชายเกือบ 1,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 59 ปี ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเวลส์ (Wales) ว่า กิจกรรมทางเพศ (Sexual activity) ดูเหมือนจะมีผลกระทบที่ป้องกัน (Protective effect) สุขภาพของผู้ชาย....
22 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผลของสารพิษโลหะสามารถทำให้เกิดพิษได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อโดยตรงและรบกวนการทำงานของขั้นตอนการเผาผลาญอาหาร (Metabolic processes) 2. ทำลายสารอาหารอันเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะสารอาหารบกพร่องของร่างกาย (Nutritional Deficiencies)
20 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ตาบอด (Blindism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนตาบอด(Blindism)โดยเฉพาะที่เป็นแต่เด็ก ไม่เคยมองเห็นมาก่อน แม้จะปรับตัวและมีสภาพจิตใจที่ดีกว่าคนตาบอดที่เกิดในภายหลัง คนตาบอดกลุ่มนี้มักจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากคนตาดี ซึ่งบางอย่างควรจะแก้ไขเพื่อว่าเขาจะสามารถอยู่ในสังคมเดียวหรือเหมือนคนปกติได้ พฤติกรรมแปลกๆ ต่างๆ ได้แก่....
1 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 13 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
นักวิจัยรายงานผลว่า ผู้หญิงที่พบว่ากิจกรรทางเพศเติมความเต็ม (Fulfilling) และความสมบูรณ์ (Enriching) ให้ชีวิต ก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีแนวโน้มที่จะดื่มด่ำความสุขจากกิจกรรมทางเพศหลังวัยหมประจำเดือน และเข้าสู่ผู้ใหญ่วัยดึก (Late adulthood)...
15 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีหนังสือแจ้งไปยังนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่ อ.ชัยบาดาล จำนวน 8 แห่ง ประกอบไปด้วย อบต.ห้วยหิน อบต.ม่วงค่อม อบต.ท่าดินดำ อบต.ชัยนารายณ์ อบต.ลำนารายณ์ อบต.บ้านใหม่สามัคคี อบต.ศิลาทิพย์ และอบต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล ว่าจะจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน...
19 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ประเมินสายตาเด็กเล็กได้อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เด็กแรกเกิดที่ท้องครบกำหนดและคลอดปกติ ลักษณะทางกายภาพของตาอาจจะมองดูปกติ มีส่วนต่างๆภายในลูกตาปกติ แต่การมองเห็นจะยังไม่สมบูรณ์นัก กล่าวคือจอตาซึ่งบุอยู่ภายในลูกตายังพัฒนาไม่เต็มที่ เด็กแรกเกิดจึงมีการมองเห็นอยู่ในขั้นเลือนรางทันทีที่เด็กลืมตา มีแสงสว่างเข้าตาไปกระทบจอตา การพัฒนาการมองเห็นจะเริ่มขึ้นและดำเนินไปเรื่อยๆ
24 กันยายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 12 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มักใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้คนที่มีอายุระหว่าง 17 ถึง 59 ปี โดยรายงานว่า ชายโสดมีคู่ขาประจำทางเพศ (Sex partner) บรรลุจุดสุดยอด (Orgasm) บ่อยถี่กว่า และสำเร็จความใคร่ (Masturbate) มากกว่า หญิงโสด และประมาณ 1 ใน 3 ของคู่แต่งงาน มีเพศสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง...
8 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภายหลังการผ่าตัดเพื่อตัดกระเพาะปัสสาวะออก จะมีการทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion) ได้หลายวิธี เช่น แพทย์อาจใช้ท่อ (Urinary conduit) ต่อจากท่อไต (Ureters) เพื่อถ่ายน้ำปัสสาวะออกจากร่างกายไปที่ถุงหน้าท้อง (Urostomy bag)
17 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ทำไมต้องฆ่าตัวตาย ? (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข แถลงข่าวการประชุมวิชาการวิกฤตสุขภาพจิตระดับชาติประจำปี 2556 เรื่อง “อาเซียนร่วมใจฝ่าภัยวิกฤตสุขภาพจิต (Go Through Mental Health Crisis : Strengthen ASEAN Collaboration)" ว่า สถานการณ์สุขภาพจิตของคนไทยปี 2555 มีความขัดแย้งที่รุนแรงลดลงในภาพรวม ความเครียดจากการเมืองก็ดีขึ้น แต่ยังมีปัญหาในแง่เศรษฐกิจ การงาน และความอ่อนไหวทางสังคม
26 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 81 : แผนกสังคมสงเคราะห์
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
รกรากของแผนกสังคมสงเคราะห์ (Social Services) ในสถานพยาบาลทุกวันนี้ สามารถย้อนรอยอดีตไปถึงคริสต์ ศตวรรษ 1700 และเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในราว ค.ศ. 1905 (พ.ศ. 2448) โดยนายแพทย์ Richard Cabot แห่งโรงพยาบาล Massachusetts General Hospital สหรัฐอเมริกา ผู้เชื่อว่า ปัญหาส่วนตัวของผู้ป่วยมักเป็นส่วนหนึ่งของสาเหตุการเจ็บป่วย
25 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) : ตอน ไข่ขาวตุ๋นทรงเครื่องทันใจ
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ไข่ขาวตุ๋นทรงเครื่องทันใจ
24 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 9 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
นักจิตวิทยาประสาท (Neuropsychological) ได้รายงานการศึกษาที่ยากลำบากต่อความเข้าใจของนักการศึกษา (Educator) ผลลัพธ์คือช่องว่างระหว่างรายงานคำแนะนำและการศึกษาที่ได้จัดเตรียม จึงไม่รู้ว่าโปรแกรมการรักษาสำหรับเด็กออทิสติก นำไปสู่การพัฒนาดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ หลังจากเด็กๆ ได้เจริญเติบโตขึ้น
23 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มองโรค(โลก)แบบหมอสมศักดิ์ ตอน: ปวดหัวรุนแรงที่สุดในชีวิต
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ทุกคนต้องเคยปวดศีรษะ ซึ่งส่วนใหญ่ก็มีอาการไม่รุนแรง นอนพักหรือทานยาแก้ปวดก็ดีขึ้น แต่มีบางครั้งที่อาการปวดศีรษะนั้น เกิดจากสาเหตุที่รุนแรง อาการไม่ดีขึ้นและอาจเสียชีวิตได้ ดังตัวอย่างที่ผมจะเล่าให้ฟัง
23 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 8)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ปกครองของเด็กกลุ่มออทิสติก จะสังเกตพฤติกรรมที่ไม่ปกติของเด็กๆ เมื่ออายุ 18 เดือน และประมาณ 4 ใน 5 คน ที่สังเกตเห็นพฤติกรรม เมื่ออายุ 24 เดือน ตามข้อมูลจากวารสารออทิสซึ่มและความผิดปกติของพัฒนาการ (Journal of Autism and Development Disorders)
22 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน 32: สาเหตุตาบอดในคนไทย
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
จากการสำรวจสาเหตุตาบอดของประชากรโลกขององค์การอนามัยโลก เมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่า เกิดจากโรคต้อกระจก 51% ต้อหิน 8 % โรคจอตาเสื่อมในผู้สูงอายุ (age related macular degeneration) 5 %
22 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 7)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ในอังกฤษมีแบบแผนสำหรับเด็กออติสติกแห่งชาติ (National Autism Plan for Children) ได้แนะนำอย่างมากที่สุด 30 สัปดาห์ ในการวินิจฉัยและการประเมินโดยสมบูรณ์แบบครั้งแรก แม้ว่าในทางปฏิบัติ มีไม่กี่กรณีที่ทำอย่างรวดเร็วเช่นนั้น ในปี พ.ศ. 2552 การศึกษาในสหรัฐอเมริกา ได้ค้นพบค่าอายุเฉลี่ย สำหรับการวินิจฉัยกลุ่มอาการอทิสติกคือ 5.7 ปี ซึ่งมากกว่าที่ได้แนะนำไว้ก่อนหน้านี้ และ 27% ของเด็ก ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยเมื่ออายุ 8 ปี
21 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 2
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
สาเหตุที่สำคัญของโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ทำการศึกษาวิจัยจนทราบแล้วในปัจจุบันก็คือ การติดเชื้อไวรัสหูดหงอนไก่หรือเอชพีวี (Human papillomavirus: HPV) บริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะที่บริเวณปากมดลูก การมีเพศสัมพันธ์กับชายที่มีเชื้อไวรัสหูดหงอนไก่
21 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 6)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
การวินิจฉัยออทิสซึ่ม (Autism) มักใช้พื้นฐานทางพฤติกรรม ไม่ใช้สาเหตุหรือกลไก (Mechanism) ออติสติกได้รับการนิยามจากการแสดงออกอย่างน้อยที่สุด 6 อาการ รวมอีกอย่างน้อย 2 อาการ ที่บกพร่องในการเข้าสังคม อย่างน้อย 1 อาการที่บกพร่องทางการสื่อสาร และอีกอย่างน้อย 1 อาการของพฤติกรรมที่ถูกจำกัดและทำซ้ำๆ (Restricted and repetitive behavior)
20 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน: คำถามที่ควรถามแพทย์เมื่อรักษาด้วยยารักษาตรงเป้า
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
คำถามที่ควรถามแพทย์ในเรื่อง ยารักษาตรงเป้า คือ คำถามที่ ผู้ป่วยและครอบครัวอยากทราบ กังวล สงสัย กลัว และเช่นเดียวกับในการถามคำถามแพทย์ พยาบาลทุกครั้ง ควรจดคำถามไว้ล่วงหน้าเสมอ เพื่อถามได้ครบถ้วนรวดเร็ว ถ้ามีญาติช่วยจดคำตอบด้วยยิ่งดี และควรมีความรู้เบื้องต้นในโรค หรือวิธีการรักษามาก่อน (หาอ่านจากหนังสือ หรือจากอินเทอร์เน็ต เช่น จากเว็บ หาหมอ.com ของเรา) เพื่อจะได้พอสื่อสาร พูดคุยกับแพทย์ พยาบาลได้เข้าใจมากขึ้น
19 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 5)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
เป็นที่ยอมรับกันมาเป็นเวลานานแล้วว่า ออทิสซึ่ม (Autism) มีสาเหตุจากกรรมพันธุ์ ความสามารถในการเรียนรู้ และเซลล์สมอง ออทิสซึ่มมีรากฐานทางพันธุกรรมที่แข็งแรง แม้ว่าพันธุกรรมของออทิสซึ่ม จะซับซ้อนและไม่ชัดเจน
19 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มองโรค(โลก)แบบหมอสมศักดิ์ ตอน: ปวดศีรษะไมเกรน....ถูกตัดขา
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
มีการกล่าวไว้ว่า “ทุกคนเกิดมาต้องเคยปวดหัว” เป็นจริงแน่นอนครับ เพราะอาการปวดหัวนั้นสามารถเกิดได้ในทุกเพศ ทุกวัย สาเหตุก็มีหลากหลาย ทั้งสาเหตุในสมอง โรคทางกายอื่นๆ หรือเกิดจากสาเหตุทางจิตใจ จากปัญหาสังคมต่างๆ มากมาย สาเหตุหนึ่งที่พบบ่อยคือ ปวดศีรษะไมเกรน
19 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 80 : ปฎิบัติการเชิงซ้อนของนักแก้ไขการพูดและภาษา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
บางครั้งการประเมินการกลืนข้างเตียงผู้ป่วย อาจเปิดเผยให้เห็นความจำเป็นสำหรับการวิเคราะห์ในเชิงลึกเกี่ยวกับกลไกลการกลืนของผู้ป่วย การใช้วิธีการกลืนสารแบเรียม (Barium) หรือการส่องกล้อง (Endoscope) อาจไม่เพียงพอ รังสีแพทย์ อาจช่วยวินิจฉัยโดยใช้เครื่องมือวีดิทัศน์ตรวจอวัยวะภายในบนจอเรืองแสง (Video-fluoroscopy)
18 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 3)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ออทิสติกวัยก่อนเข้าเรียน (1-3 ปี) จะปรากฏความแตกต่างอย่างน่าประหลาดใจจากพฤติกรรมทางสังคม ตัวอย่างเช่น พวกเขาจะมีการสบตาน้อยกว่า และก็ไม่มีความสามารถที่จะเรียกร้องความสนใจ เช่น การชี้ไปที่สิ่งต่างๆ
17 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) : ตอน กินแกงกะทิอย่างไรให้ได้สุขภาพและคงความอร่อย
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ถ้าเราชอบแกงกะทิ ก็ต้องมีมะพร้าวขูด สำหรับคั้นให้ได้กะทิข้นๆเพื่อความหอม หวาน มัน ของรสชาติอาหารไทยในชีวิตประจำวัน เช่น แกงเผ็ดเป็ดย่าง พะแนง เต้าเจี้ยวหลนหรือแม้แต่อาหารประเภทยำใช้หัวกะทิข้นๆ เพื่อให้ได้รสชาติที่อร่อย โดยเฉพาะ แกงเขียวหวานไก่ใส่มะเขือพวง
17 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 4)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
นอกจากความผิดปกติในการพัฒนาสมอง คนที่เป็นออทิสติก (Autism) จะมีความบกพร่องในการเข้าสังคม และมักขาดสัญชาติญาณการเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องอื่นๆ การพัฒนาด้านสังคมที่ไม่ปกติจะปรากฏขึ้นในช่วงต้นของวัยเด็ก ทารกออทิสติกจะแสดงความสนใจน้อยต่อการกระตุ้นทางสังคม การยิ้มและมองดูสิ่งอื่นก็น้อยกว่า แม้แต่การนตอบสนองต่อชื่อของตนเองก็ยังน้อยกว่าด้วย
17 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 2)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ออทิสติก (Autistic) เป็น 1 ใน 3 ของอาการผิดปกติในการรับรู้ในช่วงอาการออทิสซึ่ม (Autism spectrum) (ASDs) และอีก 2 ชนิดอยู่ในกลุ่มอาการแอสเปอร์เกอร์ (Asperger syndrome) ซึ่งขาดพัฒนาการและภาษาของการเรียนรู้ และความผิดปกติในการพัฒนาแบบรอบด้าน (Pervasive developmental disorder, not otherwise specified) มักเขียนเป็นคำย่อว่า PDD-NOS)
16 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มองโรค(โลก)แบบหมอสมศักดิ์ ตอน: ปวดศีรษะกลางดึก
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
“ผมกำลังนอนหลับอย่างสบาย ก็ได้ยินเสียงโทรศัพท์ดังขึ้น เป็นการโทรฯปรึกษาจากแพทย์เวรอายุรกรรมครับ” มีผู้ป่วยปวดศีรษะรุนแรงครับอาจารย์ ผู้ป่วยอายุ 45 ปี ปวดหัวรุนแรงมาก ผมตรวจไม่พบความผิดปกติใดๆ ส่งตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองก็ปกติ ทำอย่างไรดีต่อครับอาจารย์” ผมคิดไม่ออกครับคืนนั้น เลยบอกหมอเวรไปว่า...
16 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
'ระนอง' ต้นแบบดูแล เด็กออ (ทิสติก) ครบวงจร (ตอนที่ 1)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
"ออทิสซึม" (Pervasive Developmental Disorders ; PDD) หรือทั่วไป เรียกว่า ออทิสติก เป็นโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการทางสมองล่าช้า 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสังคม ภาษาและพฤติกรรม กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) คาดว่ามีเด็กไทยอายุ 0-18 ปี มีอาการออทิสติก188,860 คน และ สธ. ให้บริการรักษาผู้ป่วยในชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
15 สิงหาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หน้า 178/225:
ก่อนหน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
ถัดไป
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 12 (ตอนจบ)
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
โภชนาการกับการหายของแผล(Nutrition in Wound Care) ตอนที่ 6
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ถั่วเหลืองกับสุขภาพ เมนูที่2 เมนู วุ้นน้ำเต้าหู้งาดำ-ฟรุตสลัด
โดย กาญจนา ฉิมเรือง
รีวิวตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
โดย ทีมงาน Haamor.com
ศิริราชผ่าตัดส่องกล้องรักษา “ภาวะกระเพาะปัสสาวะอุดกั้น” (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย ปราง เทพินทราภิรักษ์
ปัจจัยมนุษย์หรือการยศาสตร์ (ตอนที่ 8 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
หมอสมศักดิ์ตอบ:การซื้อยาทานเอง ทำได้หรือไม่
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ผมร่วง ศีรษะล้าน รักษาได้ ตอน ลดผมร่วง ขาดง่าย
โดย พญ.ชลธิรศน์ ศรีเกษตรสรากุล
Hoarding Disorder โรคเก็บสะสมของ (ตอนที่ 1)
โดย พ.ท.หญิง กุลกานต์ ฤทธิ์ฤๅชัย รัตนวราหะ
เด็กที่ความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (ตอนจบ)
โดย โสธิดา ผุฏฐธรรม
จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 201 : สู่ปัจจัยทางจิตและสุขภาพ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ลดน้ำหนักลดอาหาร มักอยู่นานอายุยืน (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย ปฐมา ลอออรรถพงศ์
ไทฟอยด์ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน ผลของรังสีรักษาในเนื้องอกพังผืดชนิดรุกรานรุนแรง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ กินอย่างไรดี
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
การจัดการภาวะแทรกซ้อนยาต้านรีโทรไวรัส ตอน 25
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
ลมชักฉันรักเธอ ภาค2: น้องออยทำได้ (ตอนสุดท้ายของภาค2)
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
สาระน่ารู้จากหมอตาตอน อาหารที่ป้องกันโรคต้อกระจก
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
สมาชิกที่ใช้งานอยู่ขณะนี้ คน
หน้าหลัก
|
ข่าว/บล็อก
|
บทความสุขภาพ
|
ค้นหาโรงพยาบาล
|
เว็บบอร์ด
|
ข้อตกลงการใช้งาน
|
เกี่ยวกับเรา
|
แพ็คเกจสุขภาพ
ขอสงวนสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ห้ามมิให้ทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ตีพิมพ์ เผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของ website หาหมอ.com ก่อน และบทความ ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com เป็นเพียงความคิดเห็นของผู้เขียน ไม่สามารถนำไปเป็นหลักฐานในการฟ้องร้อง หรือใช้ทดแทนคำวินิจฉัย และ หรือ การรักษาจากแพทย์ได้
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิงและความงาม
เกร็ดสุขภาพ
สุขภาพทั่วไป
เพศศึกษา
ข่าว/บล็อก
กรดไหลย้อน
กรวยไตอักเสบ
ความดันโลหิตต่ำ
ความดันโลหิตสูง
ดาวน์ซินโดรม
ธาลัสซีเมีย
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคของจอตา
ปอดบวมในเด็ก
ปัสสาวะรดที่นอน
พังผืดที่จอตา
ต้อเนื้อ
ตาบอดสี
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก
โรคพยาธิใบไม้ตับ
โรคลมชัก
โรคตับอักเสบ
โรคภูมิแพ้หูคอจมูก
ระยะหลังคลอด
คันทวารหนัก
ช่องคลอดมีกลิ่น
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส
โรคสมองเสื่อม
ปวดหลังช่วงล่าง
การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติ
โรคติดเชื้อเอชพีวี
สิ่งแปลกปลอมในจมูก
การแท้งบุตร
โรคมะเร็งคอหอย
© 2011-2012 HaaMor.com. All rights reserved.