เข้าสู่ระบบ
|
ลงทะเบียน
Tweet
ค้นหาตามอาการ
ค้นหาตามอวัยวะ
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิง
เพศศึกษา
สุขภาพทั่วไป
เกร็ดสุขภาพ
หน้าหลัก
»
บล็อก
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: การใช้ยาหยอดตาผิดผิด
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุณแม่พาบุตรชายวัย 12 ปี มาจากจังหวัดพิษณุโลกเพื่อมารักษาตาที่แดง น้ำตาไหล ขยี้ตาเป็นประจำมา2 – 3 ปี เคยไปรับการตรวจจากหมอตาที่พิษณุโลกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิแพ้ เมื่อใช้ยาอาการก็หายดีไปชั่วคราว โดยไปพบหมอเพียงครั้งเดียว
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 16 : ประสบการณ์จากอังกฤษ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Ageing) มิใช่เป็นประเด็นโดดเด่น (Unique) ของสมัยปัจจุบัน เพียงแต่ว่าใน 2 – 3 ร้อยปีที่ผ่าน มันได้กลายเป็นสิ่งธรรมดาสามัญ (Commonplace) โดยมีการสันนิษฐานกันว่า ผู้สูงอายุยุคก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic) เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก (Extremely rare)
4 สิงหาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารอลูมิเนียม เป็นสารที่มีพิษต่อประสาท อาจทำให้ความจำแย่ลง อารมณ์ผิดปกติ เช่น หดหู่ซึมเศร้า วิตกกังวล ทั้งนี้สารอลูมิเนียมจะไปรบกวนการทำงานของเซลล์ในสมอง โดยระดับอลูมิเนียมที่สูงจะมีส่วนสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid proteins) และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน โรคไร้ม่านตา (Aniridia)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ม่านตา (iris) เป็นส่วนของตาที่อยู่ภายในลูกตา มีสีน้ำตาลถึงค่อนข้างดำในชาวเอเชีย แต่ออกสีฟ้าหรือเทาอ่อนในชาว caucacian เป็นส่วนของตาที่มีเลือดมาเลี้ยงมากมาย เป็นแผ่นคล้ายเหรียญสตางค์ที่มีรูตรงกลาง (ที่เรียกว่า รูม่านตา) ยืดและหดได้เพื่อปกป้องให้แสงเข้าตาอย่างเหมาะสม
15 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 15 : การฆ่าตัวตายในวัยชรา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในบรรดากลุ่มผู้คนที่ฆ่าตัวตาย (Suicide) ปรากฏว่า อัตราสูงสุดอยู่ในกลุ่มวัยชรา (Elderly) สำหรับคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป อัตราฆ่าตัวตาย (รวมทั้งการมีแพทย์ช่วยฆ่าตัวตาย) ในสหรัฐอเมริกาสูงเกือบ 2 เท่า (20 ต่อ 100,000 คน) เมื่อเทียบกับตัวเลขถัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (12 ต่อ 100,000 คน)
29 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารตะกั่ว ข้อมูลของ The Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ระบุว่า อาการจะแย่ลงหากมีปริมาณสารตะกั่วสะสมในเลือดมาก ซึ่งอาการโดยทั่วไปได้แก่ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดเกร็งท้อง (Stomach cramps) ท้องผูก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย เจ้าอารมณ์ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ โลหิตจาง
21 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน คนเผือก (Albinism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
โรคเผือก หรือ โรคคนเผือก หรือ สภาพเผือก (Albinism) เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์หรือการกระจายของเม็ดสีของเซลล์ในร่างกายผิดปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยมี ผิวหนัง ผม หรือร่วมกับสีตาที่อ่อนกว่าปกติ ภาวะนี้เกิดได้ในคน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
8 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 14 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ทีมนักวิจัยของนายแพทย์จอร์จ เดวี่-สมิธ (George Davey-Smith) ได้กล่าวสรุปหลังการวิเคราะห์อัตราการตายของผู้ชายเกือบ 1,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 59 ปี ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเวลส์ (Wales) ว่า กิจกรรมทางเพศ (Sexual activity) ดูเหมือนจะมีผลกระทบที่ป้องกัน (Protective effect) สุขภาพของผู้ชาย....
22 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผลของสารพิษโลหะสามารถทำให้เกิดพิษได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อโดยตรงและรบกวนการทำงานของขั้นตอนการเผาผลาญอาหาร (Metabolic processes) 2. ทำลายสารอาหารอันเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะสารอาหารบกพร่องของร่างกาย (Nutritional Deficiencies)
20 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ตาบอด (Blindism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนตาบอด(Blindism)โดยเฉพาะที่เป็นแต่เด็ก ไม่เคยมองเห็นมาก่อน แม้จะปรับตัวและมีสภาพจิตใจที่ดีกว่าคนตาบอดที่เกิดในภายหลัง คนตาบอดกลุ่มนี้มักจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากคนตาดี ซึ่งบางอย่างควรจะแก้ไขเพื่อว่าเขาจะสามารถอยู่ในสังคมเดียวหรือเหมือนคนปกติได้ พฤติกรรมแปลกๆ ต่างๆ ได้แก่....
1 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 13 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
นักวิจัยรายงานผลว่า ผู้หญิงที่พบว่ากิจกรรทางเพศเติมความเต็ม (Fulfilling) และความสมบูรณ์ (Enriching) ให้ชีวิต ก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีแนวโน้มที่จะดื่มด่ำความสุขจากกิจกรรมทางเพศหลังวัยหมประจำเดือน และเข้าสู่ผู้ใหญ่วัยดึก (Late adulthood)...
15 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีหนังสือแจ้งไปยังนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่ อ.ชัยบาดาล จำนวน 8 แห่ง ประกอบไปด้วย อบต.ห้วยหิน อบต.ม่วงค่อม อบต.ท่าดินดำ อบต.ชัยนารายณ์ อบต.ลำนารายณ์ อบต.บ้านใหม่สามัคคี อบต.ศิลาทิพย์ และอบต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล ว่าจะจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน...
19 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ประเมินสายตาเด็กเล็กได้อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เด็กแรกเกิดที่ท้องครบกำหนดและคลอดปกติ ลักษณะทางกายภาพของตาอาจจะมองดูปกติ มีส่วนต่างๆภายในลูกตาปกติ แต่การมองเห็นจะยังไม่สมบูรณ์นัก กล่าวคือจอตาซึ่งบุอยู่ภายในลูกตายังพัฒนาไม่เต็มที่ เด็กแรกเกิดจึงมีการมองเห็นอยู่ในขั้นเลือนรางทันทีที่เด็กลืมตา มีแสงสว่างเข้าตาไปกระทบจอตา การพัฒนาการมองเห็นจะเริ่มขึ้นและดำเนินไปเรื่อยๆ
24 กันยายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 12 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มักใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้คนที่มีอายุระหว่าง 17 ถึง 59 ปี โดยรายงานว่า ชายโสดมีคู่ขาประจำทางเพศ (Sex partner) บรรลุจุดสุดยอด (Orgasm) บ่อยถี่กว่า และสำเร็จความใคร่ (Masturbate) มากกว่า หญิงโสด และประมาณ 1 ใน 3 ของคู่แต่งงาน มีเพศสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง...
8 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภายหลังการผ่าตัดเพื่อตัดกระเพาะปัสสาวะออก จะมีการทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion) ได้หลายวิธี เช่น แพทย์อาจใช้ท่อ (Urinary conduit) ต่อจากท่อไต (Ureters) เพื่อถ่ายน้ำปัสสาวะออกจากร่างกายไปที่ถุงหน้าท้อง (Urostomy bag)
17 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน: อุจจาระลำลีบ เล็ก อุจจาระเป็นริบบิ้น
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
อาการมีลำอุจจาระลีบเล็กลงกว่าเดิม (ลีบเล็กจนอาจคล้ายลักษณะของเส้นโบว์/ริบบิ้น, Flat stool หรือ Ribbon-like stool) เป็นอาการทางการอุจจาระอีกอย่าง ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วส่งผลให้เกิดความกังวล กลัวกันมากว่าจะใช่มะเร็งลำไส้ใหญ่หรือที่เรียกกันทั่วๆไปว่ามะเร็งลำไส้ หรือไม่
30 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน อาหารสำหรับหญิงให้นมบุตร ตอนที่ 1
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
ร่างกายของคุณแม่ที่ให้นมลูกนั้นจะมีประสิทธิภาพในการจัดการกับพลังงานที่รับเข้าไปได้ดีกว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมชง ดังนั้นจึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องกินอาหารให้มากกว่าปกติ เมื่อใดที่รู้สึกกระหาย ก็ให้ดื่มน้ำหรือเครื่องดื่มอะไรก็ได้ เมื่อรู้สึกหิว ก็ให้กินอาหารให้พอ ความจริงแล้ว ไม่มีกฎตายตัวสำหรับการกินอาหารเท่าไร
28 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 104 : แผนกวิศวกรรมชีวการแพทย์
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ฝ่ายวิศวกรรมของโรงพยาบาลบางแห่ง ยังอาจมีแผนกวิศวกรรมชีวการแพทย์ (Biomedical engineering) หรือวิศวกรรมการแพทย์ (Clinical engineering) ซึ่งมีหน้าที่ในการดูแลอุปรกณ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ (Diagnostic equipment) เพื่อวัดค่าตัวแปรทางสรีรวิทยา (Physiological parameters) ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ (Laboratory) และอุปกรณ์ส่องแสง (Radiant energy)
28 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
My Epilepsy Diary ลมชัก…..ฉันรักเธอ ตอนที่ 8: วงจรเลวร้าย เครียด กดดัน ชัก
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
วันนี้ แม่ขับรถมารับหนูกลับจากคณะ แม่ทักทายหนูด้วยสีหน้ายิ้มแย้มเช่นเคย “วันนี้ลูกได้ทำอะไรมาบ้าง” “ตอนเช้าไปออกตรวจแผนกวางแผนครอบครัว ตอนบ่ายได้ไปช่วยอาจารย์สอนแล็บกรอส(การผ่าครูใหญ่ วิชากายวิภาคศาสตร์)ให้น้องๆมาค่ะ” หนูตอบอย่างร่าเริง
27 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน 50: ภัยจากคอนแทคเลนส์
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ผู้ป่วยรายแรกของวันนี้เป็นหญิงวัยประมาณ 40 ปี พาลูกสาวหน้าใสสมวัย 17 ปี มาให้ดูตา แรกสังเกต เด็กสาวหน้าตาสะสวยแต่ไม่ยอมสบตา ตาทั้ง 2 ข้างหรี่ลงกว่าปกติ เมื่อทดลองใช้ไฟฉายส่องเข้าที่ตา จะร้องว่าเจ็บตาและหลบแสงไฟทันที เมื่อจะเริ่มการตรวจต้องมีการซักประวัติเด็กสาวขอให้มารดาออกนอกห้องตรวจ
26 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 103 : ฝ่ายวิศวกรรม
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การทำสัญญาว่าจ้างซ่อมบำรุง (Contract maintenance) เป็นการใช้ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก ในการซ่อมแซมอุปกรณ์ภายในโรงพยาบาล โดยเฉพาะอุปกรณ์ขนาดใหญ่ อาทิ ลิฟต์ และเครื่องปรับอากาศ อย่างไรก็ตาม เมื่อโรงพยาบาลขยายตัวและมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีจำนวนผู้เชี่ยวชาญในวงการที่จำกัด
25 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
My Epilepsy Diary ลมชัก…..ฉันรักเธอ ตอนที่ 7: สุขภาพคือสิ่งสำคัญที่สุด
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ณ ห้องประชุมที่ฝ่ายวิชาการ อาจารย์ธงชัย(รองคณบดีฝ่ายวิชาการ)เดินมานั่งที่หัวโต๊ะ ซึ่งหนูได้นั่งรออยู่ก่อนแล้ว อาจารย์สมศักดิ์นั่งอยู่ตรงข้ามหนู ถัดมาคืออาจารย์โฉมพิลาศ หัวหน้าฝ่ายวิชาการภาควิชาสูตินรีเวช และอาจารย์ ธีระยุทธ อาจารย์ที่ปรึกษาของหนู
24 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เที่ยวป่าระวัง ! สครับไทฟัส (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า ตัวไรอ่อนมีขนาดเท่าปลายเข็มหมุด มีสีส้มอมแดง มองเห็นด้วยตาเปล่า อาศัยอยู่ตามพื้นดินบริเวณที่ชุ่มชื้น มีใบไม้ ใบหญ้า ปกคลุม ไรอ่อนจะต้องกินน้ำเลี้ยงเซลล์ของสัตว์หรือคน จึงจะเจริญเติบโตเป็นไรแก่
23 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน: บรอคโคลิ กับโรคมะเร็ง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
เราคงเคยได้ยินกันบ่อยๆถึงประโยชน์ของบรอคโคลิ (Broccoli) ซึ่งรวมไปถึงว่า ช่วยป้องกันมะเร็งได้ โดยเฉพาะมะเร็งลำไส้ใหญ่ จึงเป็นที่มาของการคุยกันในวันนี้ว่า แล้วทางด้านการแพทย์โรคมะเร็ง จริงๆแล้ว บรอคโคลิ ป้องกัน รักษา และ/หรือช่วยลดโอกาสการย้อนกลับเป็นซ้ำและ/หรือแพร่กระจายของโรคมะเร็งได้จริงหรือไม่
23 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 102 : แผนกซ่อมบำรุง
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
แผนกซ่อมบำรุง (Maintenance) มักไม่มีโอกาสสัมผัสกับผู้ป่วย และผู้เยี่ยมไข้ในโรงพยาบาล โดยเฉพาะในโรงพยาบาลสมัยใหม่ [ดังนั้น แผนกนี้จึงมักถูกละเลย หรือมองข้ามความสำคัยไป] แต่อันที่จริงแล้ว แผนกนี้มีบทบาทสำคัญในการซ่อมแซมอุปกรณ์ อาคาร และชั้นใต้ดิน โดยเฉพาะอาคารเก่า
22 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เที่ยวป่าระวัง ! สครับไทฟัส (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้กล่าวเตือนประชาชนที่นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวในพื้นที่ที่มีอากาศหนาวเย็น สูดอากาศ เที่ยวป่า เพื่อชมความงามธรรมชาติในช่วงฤดูหนาวว่า ให้ระวังตัวไรอ่อน (Chigger) กัด ซึ่งมักเกิดขึ้นโดยบังเอิญ
22 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
โรคสมองฝ่อ อีกหนึ่งอันตรายจากการถ่ายเลือด (ตอนที่ 3 ตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
อาการของ CJD บางอย่างจะคล้ายกับอาการผิดปกติของระบบประสาท เช่น โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer) หรือ โรคฮันติงตัน [Huntington’s disease เป็นโรคทางพันธุกรรมโรคหนึ่งที่ทำให้เกิดการเสื่อมของระบบประสาท ส่งผลต่อการควบคุมการประสานงานของกล้ามเนื้อ ทำให้สติปัญญาเสื่อมถอย และนำไปสู่ภาวะสมองเสื่อมได้ ส่วนใหญ่ปรากฏอาการในช่วงวัยกลางคน]
21 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ตอนที่ 2 และตอนจบของอาหารสำหรับหญิง
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
อาหารเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญสำหรับ หญิงตั้งครรภ์ จึงควรให้ความใส่ใจในการดูแลเรื่องอาหารที่คุณแม่ควรเลือกรับประทานใน ระหว่างการตั้งครรภ์ เพื่อให้ทารกได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน ส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่ดี
21 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
โรคสมองฝ่อ อีกหนึ่งอันตรายจากการถ่ายเลือด (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ประมาณร้อยละ 5-10 ของ CJD เป็นการถ่ายทอดทางพันธุกรรม เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีน ถ้ายีนพรีออนมีการกลายพันธุ์ในเชื้ออสุจิหรือเซลล์ของไข่ ก็สามารถถ่ายทอดเป็นลักษณะเด่น (Dominant traits) ไปยังลูกหลานได้ ดังนั้นประวัติครอบครัวจึงเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยในการวินิจฉัยโรค
20 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
My Epilepsy Diary ลมชัก…..ฉันรักเธอ ตอนที่ 6: หนูทำได้..ถึงแม้ว่าหนูเป็นลมชัก
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ลมชัก... กับการเป็นนักศึกษาชั้นคลินิก การเรียนแพทย์ในปี 4 ซึ่งเป็นปีที่รุ่นพี่บอกต่อๆกันมาว่าเป็นปีที่หนักที่สุดแล้ว เพราะต้องปรับตัวหลายอย่าง ทั้งต้องรีบตื่นเช้ามาราวด์วอร์ด (การดูแลผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาล) เรียนเล็คเชอร์ รับผู้ป่วย ซักประวัติ ตรวจร่างกายคนไข้ เขียนรายงาน ออกตรวจผู้ป่วยนอก
20 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
โรคสมองฝ่อ อีกหนึ่งอันตรายจากการถ่ายเลือด (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
เว็บไซต์ BBC รายงานว่า ผู้เชี่ยวชาญได้ออกมาเตือนถึงอันตรายที่คนสามารถติดเชื้อโรคสมองฝ่อวาเรียนท์ (variant CJD, vCJD) หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “โรควัวบ้า” ได้จากการถ่ายเลือด
19 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน 49: Antioxidant กับโรคตา
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ในปัจจุบันคนเรามีแนวโน้มอายุยืนขึ้น จึงมีผู้สูงอายุมากขึ้น ผู้สูงอายุมีโอกาสพบโรคที่เกิดจากความเสื่อม โดยไม่มีการติดเชื้อมากขึ้น กระบวนการเสื่อมจากความชราส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับ Oxidative stress ที่เกิดขึ้นในร่างกาย
19 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
วารีบำบัด (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ธาราบำบัด/วารีบำบัด อาจช่วยได้ในกรณีของคนที่เป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis) คนที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง และกระดูกส่วนต่างๆ ซึ่งก็ยังคงมีการศึกษาเพิ่มเติมอีก
18 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ปฏิบัติการในโรงพยาบาล - จากมุมมองของผู้บริหาร <br/> ตอนที่ 101 : แผนกจ่ายกลางวัสดุปลอดเชื้อ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
แผนกจ่ายกลางวัสดุปลอดเชื้อ (Central Sterile Supplies Department : CSSD) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการจัดให้มีวัสดุและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ทั้งที่ผ่านกระบวนการทำให้ปลอดเชื้อ และไม่ได้ผ่านการทำให้ปลอดเชื้อ สำหรับใช้ในการดูแลผู้ป่วย ที่ได้รับการผ่าตัด (Surgical) หรือบำบัดรักษา (Medical) ในหอผู้ป่วย (Ward)
18 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
วารีบำบัด (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
สำหรับผลที่ได้จากการรักษา นายแพทย์สุพรรณ กล่าวว่า สามารถลดปวดและลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ เพิ่มการเคลื่อนไหวของข้อ เพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ ช่วยเพิ่มความสามารถในการทำงานของร่างกาย เช่น การเดินและการทรงตัว เพิ่มระบบการไหลเวียน ตลอดจนช่วยผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ
17 ธันวาคม 2013
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หน้า 166/224:
ก่อนหน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
ถัดไป
โภชนาการกับการหายของแผล(Nutrition in Wound Care) ตอนที่ 6
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ศิริราชผ่าตัดส่องกล้องรักษา “ภาวะกระเพาะปัสสาวะอุดกั้น” (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย ปราง เทพินทราภิรักษ์
ผมร่วง ศีรษะล้าน รักษาได้ ตอน ลดผมร่วง ขาดง่าย
โดย พญ.ชลธิรศน์ ศรีเกษตรสรากุล
เด็กที่ความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (ตอนจบ)
โดย โสธิดา ผุฏฐธรรม
ไทฟอยด์ (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ถั่วเหลืองกับสุขภาพ เมนูที่ 1 ลูกชิ้นถั่วเหลืองเปรี้ยวหวาน
โดย กาญจนา ฉิมเรือง
รีวิวตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
โดย ทีมงาน Haamor.com
การจัดการภาวะแทรกซ้อนยาต้านรีโทรไวรัส ตอน 25
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน ผลของรังสีรักษาในเนื้องอกพังผืดชนิดรุกรานรุนแรง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 200 : ความเป็นอยู่ในวัยเกษียณ (4)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
โรคเกลียดเสียง: ตอนที่ 2 และเป็นตอนจบ
โดย พ.ท.หญิง กุลกานต์ ฤทธิ์ฤๅชัย รัตนวราหะ
หมอสมศักดิ์ตอบ:7 ความเข้าใจผิดของคนไทยต่อการบริบาลที่ห้องฉุกเฉินของรัฐ
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ปัจจัยมนุษย์หรือการยศาสตร์ (ตอนที่ 8 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 12 (ตอนจบ)
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
ลมชักฉันรักเธอ ภาค2: น้องออยทำได้ (ตอนสุดท้ายของภาค2)
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
สาระน่ารู้จากหมอตาตอน Thyroid diet (อาหารสำหรับสุขภาพ Thyroid)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ลดน้ำหนักลดอาหาร มักอยู่นานอายุยืน (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย ปฐมา ลอออรรถพงศ์
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ กินอย่างไรดี
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
สมาชิกที่ใช้งานอยู่ขณะนี้ คน
หน้าหลัก
|
ข่าว/บล็อก
|
บทความสุขภาพ
|
ค้นหาโรงพยาบาล
|
เว็บบอร์ด
|
ข้อตกลงการใช้งาน
|
เกี่ยวกับเรา
|
แพ็คเกจสุขภาพ
ขอสงวนสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ห้ามมิให้ทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ตีพิมพ์ เผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของ website หาหมอ.com ก่อน และบทความ ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com เป็นเพียงความคิดเห็นของผู้เขียน ไม่สามารถนำไปเป็นหลักฐานในการฟ้องร้อง หรือใช้ทดแทนคำวินิจฉัย และ หรือ การรักษาจากแพทย์ได้
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิงและความงาม
เกร็ดสุขภาพ
สุขภาพทั่วไป
เพศศึกษา
ข่าว/บล็อก
กรดไหลย้อน
กรวยไตอักเสบ
ความดันโลหิตต่ำ
ความดันโลหิตสูง
ดาวน์ซินโดรม
ธาลัสซีเมีย
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคของจอตา
ปอดบวมในเด็ก
ปัสสาวะรดที่นอน
พังผืดที่จอตา
ต้อเนื้อ
ตาบอดสี
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก
โรคพยาธิใบไม้ตับ
โรคลมชัก
โรคตับอักเสบ
โรคภูมิแพ้หูคอจมูก
ระยะหลังคลอด
คันทวารหนัก
ช่องคลอดมีกลิ่น
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส
โรคสมองเสื่อม
ปวดหลังช่วงล่าง
การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติ
โรคติดเชื้อเอชพีวี
สิ่งแปลกปลอมในจมูก
การแท้งบุตร
โรคมะเร็งคอหอย
© 2011-2012 HaaMor.com. All rights reserved.