เข้าสู่ระบบ
|
ลงทะเบียน
Tweet
ค้นหาตามอาการ
ค้นหาตามอวัยวะ
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิง
เพศศึกษา
สุขภาพทั่วไป
เกร็ดสุขภาพ
หน้าหลัก
»
บล็อก
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: การใช้ยาหยอดตาผิดผิด
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุณแม่พาบุตรชายวัย 12 ปี มาจากจังหวัดพิษณุโลกเพื่อมารักษาตาที่แดง น้ำตาไหล ขยี้ตาเป็นประจำมา2 – 3 ปี เคยไปรับการตรวจจากหมอตาที่พิษณุโลกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิแพ้ เมื่อใช้ยาอาการก็หายดีไปชั่วคราว โดยไปพบหมอเพียงครั้งเดียว
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 16 : ประสบการณ์จากอังกฤษ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Ageing) มิใช่เป็นประเด็นโดดเด่น (Unique) ของสมัยปัจจุบัน เพียงแต่ว่าใน 2 – 3 ร้อยปีที่ผ่าน มันได้กลายเป็นสิ่งธรรมดาสามัญ (Commonplace) โดยมีการสันนิษฐานกันว่า ผู้สูงอายุยุคก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic) เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก (Extremely rare)
4 สิงหาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารอลูมิเนียม เป็นสารที่มีพิษต่อประสาท อาจทำให้ความจำแย่ลง อารมณ์ผิดปกติ เช่น หดหู่ซึมเศร้า วิตกกังวล ทั้งนี้สารอลูมิเนียมจะไปรบกวนการทำงานของเซลล์ในสมอง โดยระดับอลูมิเนียมที่สูงจะมีส่วนสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid proteins) และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน โรคไร้ม่านตา (Aniridia)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ม่านตา (iris) เป็นส่วนของตาที่อยู่ภายในลูกตา มีสีน้ำตาลถึงค่อนข้างดำในชาวเอเชีย แต่ออกสีฟ้าหรือเทาอ่อนในชาว caucacian เป็นส่วนของตาที่มีเลือดมาเลี้ยงมากมาย เป็นแผ่นคล้ายเหรียญสตางค์ที่มีรูตรงกลาง (ที่เรียกว่า รูม่านตา) ยืดและหดได้เพื่อปกป้องให้แสงเข้าตาอย่างเหมาะสม
15 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 15 : การฆ่าตัวตายในวัยชรา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในบรรดากลุ่มผู้คนที่ฆ่าตัวตาย (Suicide) ปรากฏว่า อัตราสูงสุดอยู่ในกลุ่มวัยชรา (Elderly) สำหรับคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป อัตราฆ่าตัวตาย (รวมทั้งการมีแพทย์ช่วยฆ่าตัวตาย) ในสหรัฐอเมริกาสูงเกือบ 2 เท่า (20 ต่อ 100,000 คน) เมื่อเทียบกับตัวเลขถัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (12 ต่อ 100,000 คน)
29 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารตะกั่ว ข้อมูลของ The Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ระบุว่า อาการจะแย่ลงหากมีปริมาณสารตะกั่วสะสมในเลือดมาก ซึ่งอาการโดยทั่วไปได้แก่ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดเกร็งท้อง (Stomach cramps) ท้องผูก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย เจ้าอารมณ์ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ โลหิตจาง
21 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน คนเผือก (Albinism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
โรคเผือก หรือ โรคคนเผือก หรือ สภาพเผือก (Albinism) เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์หรือการกระจายของเม็ดสีของเซลล์ในร่างกายผิดปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยมี ผิวหนัง ผม หรือร่วมกับสีตาที่อ่อนกว่าปกติ ภาวะนี้เกิดได้ในคน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
8 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 14 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ทีมนักวิจัยของนายแพทย์จอร์จ เดวี่-สมิธ (George Davey-Smith) ได้กล่าวสรุปหลังการวิเคราะห์อัตราการตายของผู้ชายเกือบ 1,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 59 ปี ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเวลส์ (Wales) ว่า กิจกรรมทางเพศ (Sexual activity) ดูเหมือนจะมีผลกระทบที่ป้องกัน (Protective effect) สุขภาพของผู้ชาย....
22 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผลของสารพิษโลหะสามารถทำให้เกิดพิษได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อโดยตรงและรบกวนการทำงานของขั้นตอนการเผาผลาญอาหาร (Metabolic processes) 2. ทำลายสารอาหารอันเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะสารอาหารบกพร่องของร่างกาย (Nutritional Deficiencies)
20 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ตาบอด (Blindism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนตาบอด(Blindism)โดยเฉพาะที่เป็นแต่เด็ก ไม่เคยมองเห็นมาก่อน แม้จะปรับตัวและมีสภาพจิตใจที่ดีกว่าคนตาบอดที่เกิดในภายหลัง คนตาบอดกลุ่มนี้มักจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากคนตาดี ซึ่งบางอย่างควรจะแก้ไขเพื่อว่าเขาจะสามารถอยู่ในสังคมเดียวหรือเหมือนคนปกติได้ พฤติกรรมแปลกๆ ต่างๆ ได้แก่....
1 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 13 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
นักวิจัยรายงานผลว่า ผู้หญิงที่พบว่ากิจกรรทางเพศเติมความเต็ม (Fulfilling) และความสมบูรณ์ (Enriching) ให้ชีวิต ก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีแนวโน้มที่จะดื่มด่ำความสุขจากกิจกรรมทางเพศหลังวัยหมประจำเดือน และเข้าสู่ผู้ใหญ่วัยดึก (Late adulthood)...
15 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีหนังสือแจ้งไปยังนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่ อ.ชัยบาดาล จำนวน 8 แห่ง ประกอบไปด้วย อบต.ห้วยหิน อบต.ม่วงค่อม อบต.ท่าดินดำ อบต.ชัยนารายณ์ อบต.ลำนารายณ์ อบต.บ้านใหม่สามัคคี อบต.ศิลาทิพย์ และอบต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล ว่าจะจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน...
19 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ประเมินสายตาเด็กเล็กได้อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เด็กแรกเกิดที่ท้องครบกำหนดและคลอดปกติ ลักษณะทางกายภาพของตาอาจจะมองดูปกติ มีส่วนต่างๆภายในลูกตาปกติ แต่การมองเห็นจะยังไม่สมบูรณ์นัก กล่าวคือจอตาซึ่งบุอยู่ภายในลูกตายังพัฒนาไม่เต็มที่ เด็กแรกเกิดจึงมีการมองเห็นอยู่ในขั้นเลือนรางทันทีที่เด็กลืมตา มีแสงสว่างเข้าตาไปกระทบจอตา การพัฒนาการมองเห็นจะเริ่มขึ้นและดำเนินไปเรื่อยๆ
24 กันยายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 12 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มักใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้คนที่มีอายุระหว่าง 17 ถึง 59 ปี โดยรายงานว่า ชายโสดมีคู่ขาประจำทางเพศ (Sex partner) บรรลุจุดสุดยอด (Orgasm) บ่อยถี่กว่า และสำเร็จความใคร่ (Masturbate) มากกว่า หญิงโสด และประมาณ 1 ใน 3 ของคู่แต่งงาน มีเพศสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง...
8 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภายหลังการผ่าตัดเพื่อตัดกระเพาะปัสสาวะออก จะมีการทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion) ได้หลายวิธี เช่น แพทย์อาจใช้ท่อ (Urinary conduit) ต่อจากท่อไต (Ureters) เพื่อถ่ายน้ำปัสสาวะออกจากร่างกายไปที่ถุงหน้าท้อง (Urostomy bag)
17 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 10 : ช่วงเวลานั้น สำคัญไฉน? (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
หากเราลองคิดย้อนหลัง สมัยที่ยังเป็นวัยรุ่นอยู่ แล้วเริ่มตระหนักว่า เรากำลังเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและกลายเป็นผู้ใหญ่ในไม่ช้า คำถามที่น่าสนใจก็คือ ความรู้สึกนี้เกิดขึ้นก่อนหรือหลังเพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน (Peer)? แล้วช่วงเวลาของเหตุการณ์ดังกล่าวมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ (Personality) หรือชีวิตทางสังคม (Social life) หรือไม่? แล้วมีผลกระทบ (Implications) ที่แตกต่างกันอย่างไร ระหว่างหนุ่มวัยรุ่นกับสาววัยรุ่น?
30 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คีเลชั่นบำบัด (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
แม้ว่าจะยังไม่มีหลักฐานเพียงพอว่าการรักษานั้นมีประสิทธิผล แต่เนื่องจาก EDTA สามารถลดปริมาณของแคลเซียมในกระแสเลือดได้ แพทย์บางท่านจึงแนะนำ ให้ผู้ป่วยทำคีเลชั่นบำบัดเพื่อชะล้างธาตุต่างๆ ที่เกาะอยู่ในหลอดเลือด อย่างกรณีของโรคหลอดเลือดตีบแข็ง (Atherosclerosis / coronary artery disease) ซึ่งน่าจะได้ผลและค่าใช้จ่ายถูกกว่าการเลือกผ่าตัดบายพาส (Coronary bypass surgery) การขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (Angioplasty) และวิธีอื่นๆ ที่ช่วยลดการอุดตันของเส้นเลือด...
30 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คีเลชั่นบำบัด (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผ่านไปโรงพยาบาลทางชายฝั่งตะวันออกของไทย พบว่า ปัจจุบันมีการให้บริการคีเลชั่นบำบัดกันอย่างแพร่หลาย จึงอยากจะนำเสนอข้อมูลให้ได้ทราบกัน คีเลชั่นบำบัด (Chelation Therapy) คือ การกำจัดสารโลหะหนักในร่างกาย เช่น สารตะกั่ว สารปรอท สารหนู แคดเมียม อลูมิเนียม และสารโลหะที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายแต่ไม่อยู่ในตำแหน่งที่ควรจะเป็น เช่น ธาตุเหล็ก ทองแดง สังกะสี แคลเซียม ที่สะสมอยู่ในผนังหลอดเลือดและอวัยวะต่างๆ ให้ออกจากร่างกาย...
29 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอสมศักดิ์ ตอนเมื่อคุณพบแพทย์ ตอนที่ 21 เหม่อลอย
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
อาการเหม่อลอย อาจเกิดจากการที่คนคนนั้นไม่สนใจใยดีต่อสิ่งรอบตัว แต่กลับปล่อยให้ตนเองล่องลอยไปที่อื่นๆ คิดถึงคนที่ไม่ได้อยู่ใกล้ ขาดสมาธิหรือเป็นโรคลมชักชนิดหนึ่งที่มีอาการนั่งนิ่งเหม่อลอย รวมทั้งการนอนหลับกลางวัน ดังนั้นอาการเหม่อลอย ก็ต้องใช้ประวัติที่มีรายละเอียดอย่างมาก ไม่แตกต่างกับอาการผิดปกติอื่นๆ หรืออาจจะต้องใช้มากกว่าด้วย ยากกว่าในการได้มาของประวัติ...
29 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ขาวใส ใช่จะดี ! (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
จากการศึกษาในสัตว์และในห้องทดลองพบว่า กลูตาไธโอน ช่วยในการต่อสู้กับโรค โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความชรา (Aging) ทั้งนี้เพราะสารอนุมูลอิสระเป็นสาเหตุของโรคในวัยชรา...
28 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอนแบคทีเรียในช่องปากกับมะเร็งลำไส้ใหญ่
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
ปัจจุบัน คนสนใจในเรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่กันมากรวมทั้งในวงการแพทย์ เพราะเป็นโรคมะเร็งที่พบได้บ่อยโรคหนึ่ง และมีโอกาสรักษาได้หายสูงด้วยการผ่าตัดเพียงวิธีการเดียวเมื่อพบโรคในระยะเริ่มเป็น คือระยะที่ผู้ป่วยยังไม่มีอาการ ดังนั้นการศึกษาทางการแพทย์ จึงมุ่งเน้นไปที่...
28 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ขาวใส ใช่จะดี ! (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
จากการใช้ "กลูต้าไธโอน" เพื่อเสริมความขาวใส ทั้งกิน ทั้งฉีด โดยไม่เกรงกลัวผลร้ายต่อร่างกายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ล่าสุดได้มีการแชร์ภาพที่ปรากฏบนอินเทอร์เน็ตที่เห็นว่า เลือดในหลอดไซริงค์ผิดปกติเพราะมีลักษณะข้นขุ่นเป็นสีขาวเจือสีแดงจางๆ พร้อมบรรยายใต้ภาพว่า...
27 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 9 : พัฒนาการในวัยรุ่น (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
สาววัยรุ่นที่ “สุกงอม” ก่อน (Early maturing) จะพัฒนา “หน่อทรวงอก” (Breast bud) ณ อายุ 8 ขวบ เริ่มมีการเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดด ณ อายุ 9.5 ขวบ และมีประจำเดือนครั้งแรก (Menarche) ณ อายุ 10.5 ปี อาจมีพัฒนาการ “แตกเนื้อสาว” (Puberty development) ที่สมบูรณ์เต็มที่แล้ว ก่อนที่สาววัยรุ่นอื่นๆ ในชั้นเดียวกัน จะเริ่มต้นด้วยซ้ำ...
27 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ซีสต์ในรังไข่ (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
การตรวจวิเคราะห์โรคอาจพบได้ระหว่างการตรวจอัลตราซาวด์ที่ช่องท้องเพื่อสาเหตุอื่น นอกจากนี้อาจใช้วิธีตรวจด้วยซีทีสแกน การตรวจอัลตราซาวด์ด้วยเทคนิคเฉพาะเพื่อดูการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงซิสต์ในรังไข่ (Doppler flow studies) และ /หรือ เอ็มอาร์ไอ...
26 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล)ตอน: “อาหารรสแซ่บจี้ดจาด...อย่าบ่อย ”
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
อาหารประเภทยำ ส้มตำ ลาบ น้ำตก เป็นอาหารอันดับต้นในเลือกรับประทานเมื่อคิดจะลดน้ำหนัก ฉะนั้นขอทำความเข้าใจในการเลือกรับประทานอาหารประเภทนี้ในการควบคุมน้ำหนัก ถ้าคุณสังเกตดูให้ดีอาหารเหล่านี้จะมีรสชาติที่จี้ดจาด ทั้งเปรี้ยว เค็ม หวาน โดยเฉพาะที่มีปัญหาคือ ความเค็ม ก็คือ...
26 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ซีสต์ในรังไข่ (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ซีสต์ (Cysts) เป็นถุงน้ำที่ก่อตัวในรังไข่ ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติของคนในวัยที่มีบุตรได้ (Childbearing years) ซีสต์มีหลายชนิดแตกต่างกันไป ที่พบมากที่สุดได้แก่ ฟังชันนัลซีสต์ (Functional cyst) ซึ่งเป็นซีสต์ที่สามารถยุบหายไปได้เองในระยะเวลา 1- 3 เดือน เมื่ออยู่ในสภาพที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเติบโต สำหรับซีสต์ชนิดอื่น ได้แก่...
25 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอสมศักดิ์ ตอนเมื่อคุณพบแพทย์ ตอนที่ 20 ปวดคอจังเลย
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
“คุณหมอครับ ผมปวดคอมากเลยครับ ปวดคอไม่เท่าไหร่ แต่มันปวดร้าวมาที่แขนและมือด้วย บางครั้งปวดจนไม่มีแรงเลยครับ หยิบจับของลำบากมากเลยครับ ช่วยผมด้วย ผมกลัวเป็นอัมพาตครับ” อาการปวดคอนั้นเป็นอาการที่พบได้บ่อย และเป็นอาการที่ผู้ป่วยไปตะเวนพบแพทย์หลากหลายสาขา เพราะไม่รู้แน่ชัดว่าตนเองเป็นอะไร เนื่องมาจากอาการปวดคอนั้นมีสาเหตุได้หลากหลาย...
25 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: แว่นตาสำหรับเด็ก
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
แว่นตา เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยปกป้องรักษาดวงตาเพิ่มการมองเห็น ในบางครั้งอาจเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็ก โดยทั่วไปแว่นตาที่ใช้ในเด็กมีข้อบ่งชี้ต่างๆ ได้แก่...
24 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ซีสต์ในรังไข่ (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
นพ.นาฏนภา วชิรธาราภาดร สูตินรีแพทย์ ให้ข้อมูลว่า จริงๆ แล้วสาเหตุแห่งการเกิดซีสต์ ก็คือ การคั่งสะสมของน้ำในร่างกาย ซึ่งเกิดได้ทุกส่วน แต่อันที่เกิดในรังไข่ โดยส่วนใหญ่แล้วก็จะสัมพันธ์กับรังไข่ กล่าวคือ หากมีการตกไข่ที่ผิดปกติไป อาจจะมีการคั่ง เกิดเป็นถุงน้ำในรังไข่ได้ หรือมีการไม่ตกไข่ ไข่ตกไม่ปกติในบางคน ก็จะสามารถเกิดเป็นถุงน้ำเล็กๆ เกิดเป็นไข่ใบเล็กๆ หลายใบในรังไข่...
24 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 8 : พัฒนาการในวัยรุ่น (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
เด็กสาวส่วนใหญ่มีความพร้อมทางเพศ (Sexual maturation) ตั้งแต่อายุ 9 ขวบ ถึง 11 ปี เมื่อเนื้อเยี่อไขมัน (Fatty tissue) เริ่มสะสมขึ้นรอบๆ หัวนม แล้วก่อร่างสร้าง “หน่อทรวงอก” (Breast bud) เล็กๆ แล้วขยายพัฒนาการทรวงอกอย่างตัวเต็ม โดยใช้เวลาประมาณ 3 - 4 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดเมื่ออายุประมาณ 14 ปี...
23 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอสมศักดิ์ ตอนเมื่อคุณพบแพทย์ ตอนที่ 19 ชักเกร็งกระตุก
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
“คุณหมอครับ ช่วยลูกผมด้วยครับ แกมีอาการชักเกร็งกระตุก ปัสสาวะราด ผมกลัวแกกัดลิ้นก็เลยเอาช้อนงัดปาก เลยมีเลือดไหลที่ปากด้วยครับ” การที่เราเห็นลูกชักต่อหน้าต่อตานั้น เป็นเรื่องที่ตกใจและน่ากลัวมาก ผมมีประสบการณ์ตรงครับ เคยเห็นลูกชักต่อหน้าเลย 2 ครั้ง ตกใจทำอะไรไม่ถูกเลยครับ...
22 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน มะเร็งต่อมลูกหมากกับมะเขือเทศ
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
เราคงเคยเห็นโฆษณาในทีวี เรื่องประโยชน์ของมะเขือเทศ ซึ่งในทางด้านโรคมะเร็งก็มีความเชื่อกันว่า มะเขือเทศสามารถป้องกัน, ช่วยลดโอกาสลุกลามแพร่กระจาย และการกลับเป็นซ้ำของโรคมะเร็งต่อมลูกหมากได้...
21 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 7 : หนุ่มวัยเจริญพันธุ์
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
หนุ่มวัยรุ่นทุกคนต้องการเจริญเติบโตเป็นหนุ่มเต็มตัวในที่สุด ซึ่งหมายถึงการผ่าน “วัยเจริญพันธุ์” (Puberty) และประสบการณ์การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ที่เกิดขึ้นระหว่างอายุ 10 ขวบถึง 14 ปี อันเป็นจุดเริ่มต้นของวัยเจริญพันธุ์ในเด็กหนุ่ม โดยที่อายุถัวเฉลี่ยอยู่ที่ 12.5 ปี หรือประมาณ 2 ปี หลังสาววัยรุ่น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว มีจุดที่น่าสนใจ 3 ประการดังนี้...
20 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ยาสีฟัน สำคัญดังนี้ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
การได้รับฟลูออไรด์ของเด็กอายุระหว่าง 6 เดือน – 16 ปี เป็นสิ่งที่ต้องระวัง เพราะอยู่ในช่วงที่ฟันแท้เริ่มพัฒนา อย่างไรก็ดีการได้รับฟลูออไรด์ที่เพิ่มขึ้นก็เป็นวิธีในการรักษากรณีที่มีความเสี่ยงในการฟันผุ ซึ่งได้แก่กรณีการรักษาอาการ...
19 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) ตอน: ห้า อันดับผลไม้ไดเอ็ท
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ผลไม้ที่ช่วยควบคุมความอยาก และควรใช้เป็นของว่าแทนการรับประทานขนม หรือเครื่องดื่มหวานๆเย็นๆ ขอแนะนำ อันดับ 1 ฝรั่ง หาซื้อง่าย มีทุกฤดูกาล เหมาะเป็นผลไม้ประจำตัวคุณ อันดับ 2 ชมพู่ ก่อนซื้อควรเลิกถามคนขายว่าหวานไหม ถ้าหวานไม่ซื้อบอกแม่ค้าไปเลยว่า “ตอนนี้กำลังลดน้ำหนักไม่อยากได้ที่หวานมาก” รับรองแม่ค้าจะรีบเลือกให้ทันทีเลย...
19 กรกฎาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หน้า 150/225:
ก่อนหน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
ถัดไป
หมอสมศักดิ์ตอบ:การซื้อยาทานเอง ทำได้หรือไม่
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
รีวิวตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
โดย ทีมงาน Haamor.com
ลดน้ำหนักลดอาหาร มักอยู่นานอายุยืน (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย ปฐมา ลอออรรถพงศ์
ศิริราชผ่าตัดส่องกล้องรักษา “ภาวะกระเพาะปัสสาวะอุดกั้น” (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย ปราง เทพินทราภิรักษ์
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ กินอย่างไรดี
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 201 : สู่ปัจจัยทางจิตและสุขภาพ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ผมร่วง ศีรษะล้าน รักษาได้ ตอน ลดผมร่วง ขาดง่าย
โดย พญ.ชลธิรศน์ ศรีเกษตรสรากุล
การจัดการภาวะแทรกซ้อนยาต้านรีโทรไวรัส ตอน 25
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
Hoarding Disorder โรคเก็บสะสมของ (ตอนที่ 1)
โดย พ.ท.หญิง กุลกานต์ ฤทธิ์ฤๅชัย รัตนวราหะ
โภชนาการกับการหายของแผล(Nutrition in Wound Care) ตอนที่ 6
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ไทฟอยด์ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ลมชักฉันรักเธอ ภาค2: น้องออยทำได้ (ตอนสุดท้ายของภาค2)
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ถั่วเหลืองกับสุขภาพ เมนูที่2 เมนู วุ้นน้ำเต้าหู้งาดำ-ฟรุตสลัด
โดย กาญจนา ฉิมเรือง
สาระน่ารู้จากหมอตาตอน อาหารที่ป้องกันโรคต้อกระจก
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน ผลของรังสีรักษาในเนื้องอกพังผืดชนิดรุกรานรุนแรง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
ปัจจัยมนุษย์หรือการยศาสตร์ (ตอนที่ 8 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 12 (ตอนจบ)
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
เด็กที่ความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (ตอนจบ)
โดย โสธิดา ผุฏฐธรรม
สมาชิกที่ใช้งานอยู่ขณะนี้ คน
หน้าหลัก
|
ข่าว/บล็อก
|
บทความสุขภาพ
|
ค้นหาโรงพยาบาล
|
เว็บบอร์ด
|
ข้อตกลงการใช้งาน
|
เกี่ยวกับเรา
|
แพ็คเกจสุขภาพ
ขอสงวนสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ห้ามมิให้ทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ตีพิมพ์ เผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของ website หาหมอ.com ก่อน และบทความ ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com เป็นเพียงความคิดเห็นของผู้เขียน ไม่สามารถนำไปเป็นหลักฐานในการฟ้องร้อง หรือใช้ทดแทนคำวินิจฉัย และ หรือ การรักษาจากแพทย์ได้
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิงและความงาม
เกร็ดสุขภาพ
สุขภาพทั่วไป
เพศศึกษา
ข่าว/บล็อก
กรดไหลย้อน
กรวยไตอักเสบ
ความดันโลหิตต่ำ
ความดันโลหิตสูง
ดาวน์ซินโดรม
ธาลัสซีเมีย
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคของจอตา
ปอดบวมในเด็ก
ปัสสาวะรดที่นอน
พังผืดที่จอตา
ต้อเนื้อ
ตาบอดสี
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก
โรคพยาธิใบไม้ตับ
โรคลมชัก
โรคตับอักเสบ
โรคภูมิแพ้หูคอจมูก
ระยะหลังคลอด
คันทวารหนัก
ช่องคลอดมีกลิ่น
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส
โรคสมองเสื่อม
ปวดหลังช่วงล่าง
การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติ
โรคติดเชื้อเอชพีวี
สิ่งแปลกปลอมในจมูก
การแท้งบุตร
โรคมะเร็งคอหอย
© 2011-2012 HaaMor.com. All rights reserved.