เข้าสู่ระบบ
|
ลงทะเบียน
Tweet
ค้นหาตามอาการ
ค้นหาตามอวัยวะ
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิง
เพศศึกษา
สุขภาพทั่วไป
เกร็ดสุขภาพ
หน้าหลัก
»
บล็อก
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: การใช้ยาหยอดตาผิดผิด
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุณแม่พาบุตรชายวัย 12 ปี มาจากจังหวัดพิษณุโลกเพื่อมารักษาตาที่แดง น้ำตาไหล ขยี้ตาเป็นประจำมา2 – 3 ปี เคยไปรับการตรวจจากหมอตาที่พิษณุโลกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิแพ้ เมื่อใช้ยาอาการก็หายดีไปชั่วคราว โดยไปพบหมอเพียงครั้งเดียว
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 16 : ประสบการณ์จากอังกฤษ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Ageing) มิใช่เป็นประเด็นโดดเด่น (Unique) ของสมัยปัจจุบัน เพียงแต่ว่าใน 2 – 3 ร้อยปีที่ผ่าน มันได้กลายเป็นสิ่งธรรมดาสามัญ (Commonplace) โดยมีการสันนิษฐานกันว่า ผู้สูงอายุยุคก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic) เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก (Extremely rare)
4 สิงหาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารอลูมิเนียม เป็นสารที่มีพิษต่อประสาท อาจทำให้ความจำแย่ลง อารมณ์ผิดปกติ เช่น หดหู่ซึมเศร้า วิตกกังวล ทั้งนี้สารอลูมิเนียมจะไปรบกวนการทำงานของเซลล์ในสมอง โดยระดับอลูมิเนียมที่สูงจะมีส่วนสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid proteins) และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน โรคไร้ม่านตา (Aniridia)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ม่านตา (iris) เป็นส่วนของตาที่อยู่ภายในลูกตา มีสีน้ำตาลถึงค่อนข้างดำในชาวเอเชีย แต่ออกสีฟ้าหรือเทาอ่อนในชาว caucacian เป็นส่วนของตาที่มีเลือดมาเลี้ยงมากมาย เป็นแผ่นคล้ายเหรียญสตางค์ที่มีรูตรงกลาง (ที่เรียกว่า รูม่านตา) ยืดและหดได้เพื่อปกป้องให้แสงเข้าตาอย่างเหมาะสม
15 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 15 : การฆ่าตัวตายในวัยชรา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในบรรดากลุ่มผู้คนที่ฆ่าตัวตาย (Suicide) ปรากฏว่า อัตราสูงสุดอยู่ในกลุ่มวัยชรา (Elderly) สำหรับคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป อัตราฆ่าตัวตาย (รวมทั้งการมีแพทย์ช่วยฆ่าตัวตาย) ในสหรัฐอเมริกาสูงเกือบ 2 เท่า (20 ต่อ 100,000 คน) เมื่อเทียบกับตัวเลขถัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (12 ต่อ 100,000 คน)
29 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารตะกั่ว ข้อมูลของ The Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ระบุว่า อาการจะแย่ลงหากมีปริมาณสารตะกั่วสะสมในเลือดมาก ซึ่งอาการโดยทั่วไปได้แก่ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดเกร็งท้อง (Stomach cramps) ท้องผูก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย เจ้าอารมณ์ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ โลหิตจาง
21 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน คนเผือก (Albinism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
โรคเผือก หรือ โรคคนเผือก หรือ สภาพเผือก (Albinism) เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์หรือการกระจายของเม็ดสีของเซลล์ในร่างกายผิดปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยมี ผิวหนัง ผม หรือร่วมกับสีตาที่อ่อนกว่าปกติ ภาวะนี้เกิดได้ในคน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
8 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 14 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ทีมนักวิจัยของนายแพทย์จอร์จ เดวี่-สมิธ (George Davey-Smith) ได้กล่าวสรุปหลังการวิเคราะห์อัตราการตายของผู้ชายเกือบ 1,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 59 ปี ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเวลส์ (Wales) ว่า กิจกรรมทางเพศ (Sexual activity) ดูเหมือนจะมีผลกระทบที่ป้องกัน (Protective effect) สุขภาพของผู้ชาย....
22 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผลของสารพิษโลหะสามารถทำให้เกิดพิษได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อโดยตรงและรบกวนการทำงานของขั้นตอนการเผาผลาญอาหาร (Metabolic processes) 2. ทำลายสารอาหารอันเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะสารอาหารบกพร่องของร่างกาย (Nutritional Deficiencies)
20 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ตาบอด (Blindism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนตาบอด(Blindism)โดยเฉพาะที่เป็นแต่เด็ก ไม่เคยมองเห็นมาก่อน แม้จะปรับตัวและมีสภาพจิตใจที่ดีกว่าคนตาบอดที่เกิดในภายหลัง คนตาบอดกลุ่มนี้มักจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากคนตาดี ซึ่งบางอย่างควรจะแก้ไขเพื่อว่าเขาจะสามารถอยู่ในสังคมเดียวหรือเหมือนคนปกติได้ พฤติกรรมแปลกๆ ต่างๆ ได้แก่....
1 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 13 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
นักวิจัยรายงานผลว่า ผู้หญิงที่พบว่ากิจกรรทางเพศเติมความเต็ม (Fulfilling) และความสมบูรณ์ (Enriching) ให้ชีวิต ก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีแนวโน้มที่จะดื่มด่ำความสุขจากกิจกรรมทางเพศหลังวัยหมประจำเดือน และเข้าสู่ผู้ใหญ่วัยดึก (Late adulthood)...
15 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีหนังสือแจ้งไปยังนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่ อ.ชัยบาดาล จำนวน 8 แห่ง ประกอบไปด้วย อบต.ห้วยหิน อบต.ม่วงค่อม อบต.ท่าดินดำ อบต.ชัยนารายณ์ อบต.ลำนารายณ์ อบต.บ้านใหม่สามัคคี อบต.ศิลาทิพย์ และอบต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล ว่าจะจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน...
19 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ประเมินสายตาเด็กเล็กได้อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เด็กแรกเกิดที่ท้องครบกำหนดและคลอดปกติ ลักษณะทางกายภาพของตาอาจจะมองดูปกติ มีส่วนต่างๆภายในลูกตาปกติ แต่การมองเห็นจะยังไม่สมบูรณ์นัก กล่าวคือจอตาซึ่งบุอยู่ภายในลูกตายังพัฒนาไม่เต็มที่ เด็กแรกเกิดจึงมีการมองเห็นอยู่ในขั้นเลือนรางทันทีที่เด็กลืมตา มีแสงสว่างเข้าตาไปกระทบจอตา การพัฒนาการมองเห็นจะเริ่มขึ้นและดำเนินไปเรื่อยๆ
24 กันยายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 12 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มักใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้คนที่มีอายุระหว่าง 17 ถึง 59 ปี โดยรายงานว่า ชายโสดมีคู่ขาประจำทางเพศ (Sex partner) บรรลุจุดสุดยอด (Orgasm) บ่อยถี่กว่า และสำเร็จความใคร่ (Masturbate) มากกว่า หญิงโสด และประมาณ 1 ใน 3 ของคู่แต่งงาน มีเพศสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง...
8 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภายหลังการผ่าตัดเพื่อตัดกระเพาะปัสสาวะออก จะมีการทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion) ได้หลายวิธี เช่น แพทย์อาจใช้ท่อ (Urinary conduit) ต่อจากท่อไต (Ureters) เพื่อถ่ายน้ำปัสสาวะออกจากร่างกายไปที่ถุงหน้าท้อง (Urostomy bag)
17 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 39 : ผลทางจิตจากวัยเจริญพันธุ์ (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ผลการวิจัยยังแสดงว่า สำหรับวัยรุ่นบางคน ความกลัวต่อสุขภาพที่ไม่ดี (Morbid fear) โดยเฉพาะภาวะอ้วนเกิน (Obesity) และพฤติกรรมควบคุมน้ำหนักที่ไม่เหมาะสม ยังคงดำเนินอยู่จนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งนำไปสู่ความเสี่ยงสูงของภาวะซึมเศร้า (Depression) และความกังวล (Anxiety)
9 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เหนือ “อีโบลา” ยังมี “มาร์บวร์ก” (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ศ.เกียรติคุณ นพ.ประเสริฐ ทองเจริญ ที่ปรึกษาสมาคมไวรัสวิทยา (ประเทศไทย) กล่าวว่า สถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ขณะนี้ยังคงระบาดหนักใน 3 ประเทศของแอฟริกาตะวันตก คือ ไลบีเรีย กินี และเซียร์ราลีโอน และเริ่มระบาดออกนอกพื้นที่ เช่น ไนจีเรีย เซเนกัล สหรัฐอเมริกา และสเปน
9 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) ตอน: คุณโชคดีแค่ไหน....ที่ได้ปลูกถ่ายไต
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
"การผ่าตัดเปลี่ยนไต" ไม่ใช่การตัดไตเดิมของผู้ป่วยทิ้งไปและใส่ไตใหม่แทน ความจริงแล้วมิได้มีการตัดไตเดิม (ยกเว้นบางกรณี เช่นไตมีการติดเชื้อหรือเป็นกลุ่มโรคที่มีขนาดไตใหญ่มาก) ไตเดิมอยู่ด้านหลังของช่องท้องส่วนไตใหม่ใส่เข้าไปอยู่ที่ด้านหน้าของช่องท้อง ในปัจจุบันจึงนิยมใช้คำว่า "การปลูกถ่ายไต" แทนคำว่า "การผ่าตัดเปลี่ยนไต"...
8 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สุกใส (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
โดยเฉพาะหญิงมีครรภ์ที่เป็นสุกใส อาจมีภาวะแทรกซ้อนสามารถทำให้ทารกมีปัญหา เช่น น้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่าเกณฑ์ แขนขาผิดปกติ และอาจมีผลร้ายแรงต่อชีวิตของทารกหากแม่เป็นสุกใสในสัปดาห์ก่อนคลอด...
8 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สุกใส (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผื่นมักเริ่มปรากฏครั้งแรกที่บริเวณท้องหรือหลัง และหน้า แล้วจึงลามไปทั่วตัวรวมทั้งหนังศีรษะ ปาก แขน ขา และอวัยวะเพศ เมื่อมีผื่นสุกใสเกิดขึ้นในแต่ละจุด จะแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ...
7 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
บอกเล่าเก้าสิบ ตอนที่ 25: หลายหมอดีกว่าหมอเดียว
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
หลายหัวดีกว่าหัวเดียว หรือหัวเดียวกระเทียมลีบ ซึ่งบ่งบอกว่าหลายๆ คนช่วยกันคิด ช่วยกันทำ ย่อมดีกว่าคนเดียวคิดคนเดียว ทำคนเดียว ซึ่งก็นำมาใช้ในวงการแพทย์ได้ เนื่องจากผู้ป่วยบางรายเจ็บป่วยด้วยโรคที่วินิจฉัยยากมาก ต้องให้แพทย์หลายๆ คนช่วยกันคิดว่าเป็นโรคอะไร หรือบางคนก็เป็นหลายโรค ซึ่งต้องอาศัยแพทย์หลายสาขาช่วยกันรักษา...
7 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สุกใส (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า โรคสุกใส เป็นโรคที่เกิดและมีการระบาดสูงในช่วงฤดูหนาว โดยข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคได้รายงานสถานการณ์ผู้ป่วยโรคสุกใส ตั้งแต่เดือนมกราคม–กันยายน พ.ศ.2557 พบผู้ป่วยโรคสุกใส จำนวน 74,299 ราย เสียชีวิต 1 ราย โดยพบว่าผู้ป่วยโรคสุกใสใน ปี พ.ศ.2557 มีรายงานเป็น 1.87 เท่า เมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2556 ในช่วงเวลาเดียวกัน...
6 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: กระจกตาเทียม (Keratoprosthesis)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
กระจกตาดทียม เป็นอวัยวะเทียมที่สร้างเพื่อทดแทนกระจกตาที่ผิดปกติรุนแรงถึงขั้นที่มิอาจรักษาด้วยวิธีเปลี่ยนกระจกตา( corneal transplant) ได้ เป็นอวัยวะเทียมที่นำมาฝัง โดยวางทับส่วนหน้าของลูกตาแทนกระจกตาที่ฝ้าขาว โดยอวัยวะเทียมอันนี้ ตรงกลางต้องใส่เพื่อให้แสงผ่านเข้าไปถึงจอตาถึงจะมีการรับภาพของจอตาเกิดขึ้น ใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคของกระจกตาอย่างรุนแรง...
6 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
บอกเล่าเก้าสิบ ตอนที่ 24: อยากหายไวๆ
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
โรคบางโรคเป็นแล้วรักษาหาย เช่น ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ไข้หวัด แต่บางโรคก็ต้องรักษาต่อเนื่อง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพาต หลอดเลือดหัวใจตีบ บางโรคการรักษาเป็นเพียงแค่การรักษาตามอาการเท่านั้น ไม่สามารถแก้ไขลักษณะการดำเนินโรคได้
4 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 38 : ผลทางจิตจากวัยเจริญพันธุ์ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ผลการวิจัยแสดงว่า มาตรการควบคุมน้ำหนักที่คัดสรรโดยวัยรุ่น สอดคล้อง (Correspond) กับความไม่พึงพอใจต่อภาพลักษณ์ของร่างกายที่เขาประสบอยู่ สาววัยรุ่นพยายามอดอาหาร (Diet) เพื่อลดน้ำหนักให้มีรูปร่างผอม
4 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน: ปริมาณรังสีจากการตรวจโรคหัวใจในเด็ก
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
กลุ่มเด็กโรคหัวใจ เป็นกลุ่มเด็กที่พบได้น้อย และโรคมักเป็นแต่กำเนิด ซึ่งการรักษาที่สำคัญ คือการผ่าตัด และอาจจำเป็นต้องผ่าตัดมากกว่า 1ครั้งขึ้นไป รวมถึงก่อนและหลังผ่าตัดจะต้องใช้การตรวจวินิจฉัยโรคด้วยการเอกซเรย์ ซึ่งเป็นรังสีเอกซ์ และจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับการตรวจทางรังสีบ่อยมาก มักรวมไปถึงการตรวจที่ยุ่งยากซับซ้อน...
3 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 37 : จากกายสู่ใจในวัยรุ่น (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ผลการวิจัยแสดงว่า กระบวนการเปลี่ยนผ่าน (Transition) จากเด็กไปสู่วัยรุ่น และผลลัพธ์เป็นส่วนสำคัญของพัฒนาการอัตลักษณ์ (Identity) ของวัยรุ่น วัยรุ่นที่มีความรู้สึกในเชิงบวกเกี่ยวกับร่างกายตนเอง โดยเฉพาะรูปลักษณ์ (Appearance) มีแนวโน้มที่จะประเมินคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) สูง และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนฝูงรุ่นราวคราวเดียวกัน...
2 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) ตอน: กินอย่างไรเมื่อต้องฟอกไต ตอนที่ 3 (ตอนจบ)
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ผู้ป่วยหลายท่านเข้าใจว่า เมื่อฟอกไตแล้วจะรับประทานอาหารรสชาติได้ก็ได้ ซึ่งในความเป็นจริงการฟอกไต ไม่ได้ทำให้การทำงานของไตเหมือนเดิม ของเสียที่คั่งยังคงมี หากผู้ป่วยไม่ระมัดระวังก็จะทำให้ของเสียสูงเกินว่าที่จะล้างไตได้กำไร...
1 พฤศจิกายน 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
บอกเล่าเก้าสิบ ตอนที่ 23: ไม่มั่นใจ ไม่ไว้ใจ ตอนที่ 2
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
สืบเนื่องจากบอกเล่าเก้าสิบ ตอนที่ 22 ที่ผมแนะนำให้ผู้ป่วยรักษาโรงพยาบาลใกล้บ้าน เพราะสะดวกกว่าที่มารักษาโรงพยาบาลใหญ่ และถ้าโรงพยาบาลใกล้บ้านมียาด้วยก็ไม่มีความจำเป็นที่จะมารักษาให้ไกล...
31 ตุลาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: อันตรายจากแสงสีน้ำเงิน (Blue light hazard)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนส่วนมากจะทราบกันดีว่า รังสียูวีให้โทษต่อตา ในปัจจุบันเลนส์แว่นตาส่วนใหญ่จึงมักเคลือบสารกันยูวี ในความเป็นจริงรังสีน้ำเงินซึ่งถือเป็นรังสีที่มีความยาวคลื่นสั้นใกล้กับแสงยูวี บางคนจึงเรียกว่า รังสี near UV ทั้ง ยูวี และรังสีน้ำเงิน มีพลังสูงก่อให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี (photochemical change) ในจอตาได้พอๆ กัน...
30 ตุลาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 36 : จากกายสู่ใจในวัยรุ่น (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
วัยรุ่นคิดอย่างไรกับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายที่เขาประสบในวัยเจริญพันธุ์? ผลการวิจัยแสดงว่า ในสังคมตะวันตก สาววัยรุ่นมักจะกังวัลเกี่ยวกับรูปลักษณ์ (Appearance) ของตนเองในสายตาของผู้อื่น เธอหวังว่า จะได้รับการมองว่า เธอสวยมีเสน่ห์ (Attractive) สอดคล้องกับอุดมคติของสตรี (Feminine ideal) อาทิ รูปร่างบอบบาง (Slim)...
29 ตุลาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
บอกเล่าเก้าสิบ ตอนที่ 22: ไม่มั่นใจ ไม่ไว้ใจ
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
แต่ละวันผมออกตรวจผู้ป่วยที่แผนกผู้ป่วยนอก ผมจะมีผู้ป่วยประมาณ 60 คน ต่อ 3 ชั่วโมง ซึ่งก็ถือว่าว่าไม่มากเมื่อเทียบกับโรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลจังหวัด แต่สำหรับโรงเรียนแพทย์ก็ถือว่ามากพอควร ที่น่าสนใจคือ ผู้ป่วยมากกว่าครึ่งเป็นผู้ป่วยที่สามารถรักษาที่โรงพยาบาลใกล้บ้านก็ได้ แต่ด้วยหลายๆ เหตุผล ผู้ป่วยจึงไม่ยอมรักษาโรงพยาบาลใกล้บ้าน ดังเรื่องที่ผมจะบอกเล่าต่อไปนี้...
28 ตุลาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน: ผลการรักษาโรคมะเร็ง ตอนที่ 3 (ตอนจบ)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
ขอเล่าต่อถึงเหตุผลที่ไม่ใช่เฉพาะระยะโรคมะเร็งเท่านั้นที่เป็นตัวบอกการพยากรณ์โรค แต่มีปัจจัยสำคัญอีกหลายปัจจัย ที่เป็นข้อมูลเชิงลึกที่แพทย์มะเร็งผู้ให้การรักษาผู้ป่วยเท่านั้นที่จะทราบ ซึ่งเล่าไปแล้วใน 2 ตอน ครั้งนี้เป็นตอนที่ 3 และเป็นตอนจบของเรื่องนี้...
27 ตุลาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 <br/> จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 35 : แนวโน้มทางเพศ (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
วัยรุ่นได้วิวัฒนาเป็นรักร่วมเพศ [เดียวกัน] (Homosexual) รักต่างเพศ (Heterosexual) หรือ รักทวิเพศ (Bisexual) ได้อย่างไร? คำตอบในมิติหนึ่งก็คือ เขาไม่มีทางเลือก เพราะเป็นเรื่องของร่างกาย (Biological) ที่ทำให้เป็นเช่นนั้น แต่ส่วนหนึ่งของความลึกลับเกี่ยวกับแนวโน้มทางเพศ (Sexual orientation) ก็คือรหัสของ ยีน/จีน (Genetic code)...
26 ตุลาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) ตอน: กินอย่างไรเมื่อต้องล้างไต ตอนที่ 2
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ในกินอย่างไรเมื่อต้องฟกไต ตอนที่ 1 ผู้เขียนกล่าวถึงกลุ่มอาหารเนื้อสัตว์ที่ควรเลือกรับประทาน สำหรับตอนที่ 2 จะกล่าวถึงหมวด คาร์โบไฮเดรตน้ำยาที่ผู้ป่วยล้างไตด้วยวิธีฟอกเลือดหรือโรคไตเรื้อรังจะมีส่วนผสมของน้ำตาล ซึ่งเป็นสารอาหารคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว ที่จะให้พลังงานแก่ผู้ป่วยได้เช่นกัน...
25 ตุลาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หน้า 143/225:
ก่อนหน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
ถัดไป
โภชนาการกับการหายของแผล(Nutrition in Wound Care) ตอนที่ 6
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 12 (ตอนจบ)
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
ถั่วเหลืองกับสุขภาพ เมนูที่2 เมนู วุ้นน้ำเต้าหู้งาดำ-ฟรุตสลัด
โดย กาญจนา ฉิมเรือง
ลมชักฉันรักเธอ ภาค2: น้องออยทำได้ (ตอนสุดท้ายของภาค2)
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
เด็กที่ความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (ตอนจบ)
โดย โสธิดา ผุฏฐธรรม
ปัจจัยมนุษย์หรือการยศาสตร์ (ตอนที่ 8 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ผมร่วง ศีรษะล้าน รักษาได้ ตอน ลดผมร่วง ขาดง่าย
โดย พญ.ชลธิรศน์ ศรีเกษตรสรากุล
ไทฟอยด์ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ลดน้ำหนักลดอาหาร มักอยู่นานอายุยืน (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย ปฐมา ลอออรรถพงศ์
Hoarding Disorder โรคเก็บสะสมของ (ตอนที่ 1)
โดย พ.ท.หญิง กุลกานต์ ฤทธิ์ฤๅชัย รัตนวราหะ
หมอสมศักดิ์ตอบ:การซื้อยาทานเอง ทำได้หรือไม่
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
สาระน่ารู้จากหมอตาตอน อาหารที่ป้องกันโรคต้อกระจก
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ กินอย่างไรดี
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
ศิริราชผ่าตัดส่องกล้องรักษา “ภาวะกระเพาะปัสสาวะอุดกั้น” (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย ปราง เทพินทราภิรักษ์
จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 201 : สู่ปัจจัยทางจิตและสุขภาพ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
รีวิวตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
โดย ทีมงาน Haamor.com
การจัดการภาวะแทรกซ้อนยาต้านรีโทรไวรัส ตอน 25
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน ผลของรังสีรักษาในเนื้องอกพังผืดชนิดรุกรานรุนแรง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
สมาชิกที่ใช้งานอยู่ขณะนี้ คน
หน้าหลัก
|
ข่าว/บล็อก
|
บทความสุขภาพ
|
ค้นหาโรงพยาบาล
|
เว็บบอร์ด
|
ข้อตกลงการใช้งาน
|
เกี่ยวกับเรา
|
แพ็คเกจสุขภาพ
ขอสงวนสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ห้ามมิให้ทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ตีพิมพ์ เผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของ website หาหมอ.com ก่อน และบทความ ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com เป็นเพียงความคิดเห็นของผู้เขียน ไม่สามารถนำไปเป็นหลักฐานในการฟ้องร้อง หรือใช้ทดแทนคำวินิจฉัย และ หรือ การรักษาจากแพทย์ได้
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิงและความงาม
เกร็ดสุขภาพ
สุขภาพทั่วไป
เพศศึกษา
ข่าว/บล็อก
กรดไหลย้อน
กรวยไตอักเสบ
ความดันโลหิตต่ำ
ความดันโลหิตสูง
ดาวน์ซินโดรม
ธาลัสซีเมีย
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคของจอตา
ปอดบวมในเด็ก
ปัสสาวะรดที่นอน
พังผืดที่จอตา
ต้อเนื้อ
ตาบอดสี
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก
โรคพยาธิใบไม้ตับ
โรคลมชัก
โรคตับอักเสบ
โรคภูมิแพ้หูคอจมูก
ระยะหลังคลอด
คันทวารหนัก
ช่องคลอดมีกลิ่น
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส
โรคสมองเสื่อม
ปวดหลังช่วงล่าง
การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติ
โรคติดเชื้อเอชพีวี
สิ่งแปลกปลอมในจมูก
การแท้งบุตร
โรคมะเร็งคอหอย
© 2011-2012 HaaMor.com. All rights reserved.