เข้าสู่ระบบ
|
ลงทะเบียน
Tweet
ค้นหาตามอาการ
ค้นหาตามอวัยวะ
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิง
เพศศึกษา
สุขภาพทั่วไป
เกร็ดสุขภาพ
หน้าหลัก
»
บล็อก
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: การใช้ยาหยอดตาผิดผิด
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุณแม่พาบุตรชายวัย 12 ปี มาจากจังหวัดพิษณุโลกเพื่อมารักษาตาที่แดง น้ำตาไหล ขยี้ตาเป็นประจำมา2 – 3 ปี เคยไปรับการตรวจจากหมอตาที่พิษณุโลกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิแพ้ เมื่อใช้ยาอาการก็หายดีไปชั่วคราว โดยไปพบหมอเพียงครั้งเดียว
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 16 : ประสบการณ์จากอังกฤษ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Ageing) มิใช่เป็นประเด็นโดดเด่น (Unique) ของสมัยปัจจุบัน เพียงแต่ว่าใน 2 – 3 ร้อยปีที่ผ่าน มันได้กลายเป็นสิ่งธรรมดาสามัญ (Commonplace) โดยมีการสันนิษฐานกันว่า ผู้สูงอายุยุคก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic) เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก (Extremely rare)
4 สิงหาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารอลูมิเนียม เป็นสารที่มีพิษต่อประสาท อาจทำให้ความจำแย่ลง อารมณ์ผิดปกติ เช่น หดหู่ซึมเศร้า วิตกกังวล ทั้งนี้สารอลูมิเนียมจะไปรบกวนการทำงานของเซลล์ในสมอง โดยระดับอลูมิเนียมที่สูงจะมีส่วนสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid proteins) และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน โรคไร้ม่านตา (Aniridia)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ม่านตา (iris) เป็นส่วนของตาที่อยู่ภายในลูกตา มีสีน้ำตาลถึงค่อนข้างดำในชาวเอเชีย แต่ออกสีฟ้าหรือเทาอ่อนในชาว caucacian เป็นส่วนของตาที่มีเลือดมาเลี้ยงมากมาย เป็นแผ่นคล้ายเหรียญสตางค์ที่มีรูตรงกลาง (ที่เรียกว่า รูม่านตา) ยืดและหดได้เพื่อปกป้องให้แสงเข้าตาอย่างเหมาะสม
15 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 15 : การฆ่าตัวตายในวัยชรา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในบรรดากลุ่มผู้คนที่ฆ่าตัวตาย (Suicide) ปรากฏว่า อัตราสูงสุดอยู่ในกลุ่มวัยชรา (Elderly) สำหรับคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป อัตราฆ่าตัวตาย (รวมทั้งการมีแพทย์ช่วยฆ่าตัวตาย) ในสหรัฐอเมริกาสูงเกือบ 2 เท่า (20 ต่อ 100,000 คน) เมื่อเทียบกับตัวเลขถัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (12 ต่อ 100,000 คน)
29 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารตะกั่ว ข้อมูลของ The Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ระบุว่า อาการจะแย่ลงหากมีปริมาณสารตะกั่วสะสมในเลือดมาก ซึ่งอาการโดยทั่วไปได้แก่ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดเกร็งท้อง (Stomach cramps) ท้องผูก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย เจ้าอารมณ์ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ โลหิตจาง
21 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน คนเผือก (Albinism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
โรคเผือก หรือ โรคคนเผือก หรือ สภาพเผือก (Albinism) เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์หรือการกระจายของเม็ดสีของเซลล์ในร่างกายผิดปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยมี ผิวหนัง ผม หรือร่วมกับสีตาที่อ่อนกว่าปกติ ภาวะนี้เกิดได้ในคน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
8 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 14 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ทีมนักวิจัยของนายแพทย์จอร์จ เดวี่-สมิธ (George Davey-Smith) ได้กล่าวสรุปหลังการวิเคราะห์อัตราการตายของผู้ชายเกือบ 1,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 59 ปี ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเวลส์ (Wales) ว่า กิจกรรมทางเพศ (Sexual activity) ดูเหมือนจะมีผลกระทบที่ป้องกัน (Protective effect) สุขภาพของผู้ชาย....
22 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผลของสารพิษโลหะสามารถทำให้เกิดพิษได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อโดยตรงและรบกวนการทำงานของขั้นตอนการเผาผลาญอาหาร (Metabolic processes) 2. ทำลายสารอาหารอันเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะสารอาหารบกพร่องของร่างกาย (Nutritional Deficiencies)
20 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ตาบอด (Blindism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนตาบอด(Blindism)โดยเฉพาะที่เป็นแต่เด็ก ไม่เคยมองเห็นมาก่อน แม้จะปรับตัวและมีสภาพจิตใจที่ดีกว่าคนตาบอดที่เกิดในภายหลัง คนตาบอดกลุ่มนี้มักจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากคนตาดี ซึ่งบางอย่างควรจะแก้ไขเพื่อว่าเขาจะสามารถอยู่ในสังคมเดียวหรือเหมือนคนปกติได้ พฤติกรรมแปลกๆ ต่างๆ ได้แก่....
1 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 13 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
นักวิจัยรายงานผลว่า ผู้หญิงที่พบว่ากิจกรรทางเพศเติมความเต็ม (Fulfilling) และความสมบูรณ์ (Enriching) ให้ชีวิต ก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีแนวโน้มที่จะดื่มด่ำความสุขจากกิจกรรมทางเพศหลังวัยหมประจำเดือน และเข้าสู่ผู้ใหญ่วัยดึก (Late adulthood)...
15 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีหนังสือแจ้งไปยังนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่ อ.ชัยบาดาล จำนวน 8 แห่ง ประกอบไปด้วย อบต.ห้วยหิน อบต.ม่วงค่อม อบต.ท่าดินดำ อบต.ชัยนารายณ์ อบต.ลำนารายณ์ อบต.บ้านใหม่สามัคคี อบต.ศิลาทิพย์ และอบต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล ว่าจะจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน...
19 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ประเมินสายตาเด็กเล็กได้อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เด็กแรกเกิดที่ท้องครบกำหนดและคลอดปกติ ลักษณะทางกายภาพของตาอาจจะมองดูปกติ มีส่วนต่างๆภายในลูกตาปกติ แต่การมองเห็นจะยังไม่สมบูรณ์นัก กล่าวคือจอตาซึ่งบุอยู่ภายในลูกตายังพัฒนาไม่เต็มที่ เด็กแรกเกิดจึงมีการมองเห็นอยู่ในขั้นเลือนรางทันทีที่เด็กลืมตา มีแสงสว่างเข้าตาไปกระทบจอตา การพัฒนาการมองเห็นจะเริ่มขึ้นและดำเนินไปเรื่อยๆ
24 กันยายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 12 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มักใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้คนที่มีอายุระหว่าง 17 ถึง 59 ปี โดยรายงานว่า ชายโสดมีคู่ขาประจำทางเพศ (Sex partner) บรรลุจุดสุดยอด (Orgasm) บ่อยถี่กว่า และสำเร็จความใคร่ (Masturbate) มากกว่า หญิงโสด และประมาณ 1 ใน 3 ของคู่แต่งงาน มีเพศสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง...
8 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภายหลังการผ่าตัดเพื่อตัดกระเพาะปัสสาวะออก จะมีการทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion) ได้หลายวิธี เช่น แพทย์อาจใช้ท่อ (Urinary conduit) ต่อจากท่อไต (Ureters) เพื่อถ่ายน้ำปัสสาวะออกจากร่างกายไปที่ถุงหน้าท้อง (Urostomy bag)
17 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 53 : กีฬากับคุณค่าในตนเอง (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในช่วงวัยเจริญพันธุ์ สาววัยรุ่นมักตกอยู่ภายใต้ความกดดันว่า เธอต้องทำตาม (Conform) บทบาททางเพศ (Gender) ที่ได้รับการกำหนดไว้ล่วงหน้า (Prescribe) ดังนั้น การเล่นกีฬาจึงเปิดโอกาสเธอให้แสดงออกส่วนที่เป็นความก้าวร้าว (Outlet of aggression) ของเธอ และการมีร่างกายที่แข็งแรง เป็นการเพิ่มความมั่นใจในคุณค่าของตนเอง
28 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หนูตัวเล็กแต่ก่อเหตุใหญ่ (ตอนที่ 14 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
สำหรับการป้องกันการติดเชื้อ Salmonella ทำได้โดย • ปรุงอาหารให้สุกสะอาด อย่ากินอาหารดิบหรือนมที่ไม่ได้ผ่านกรรมวิธีพาสเจอไรซ์ (Unpasteurized) • ล้างมือ อุปกรณ์เครื่องครัว ช้อนส้อม ด้วยสบู่และน้ำทันทีหลังสัมผัสกับเนื้อดิบ เช่น หมู วัว ไก่ • ระมัดระวังในการปรุงอาหารของเด็กทารก ผู้สูงวัย และผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำ (The immunocompromised) • ล้างมือด้วยสบู่หลังการสัมผัสสัตว์เลื้อยคลาน นก ลูกไก่ หรืออุจจาระของสัตว์เลี้ยง • ควรให้เด็กกินนมแม่
28 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 89: ชราภาพกับความทรงจำ (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
งานแบบฉบับ (Typical task) ที่เกี่ยวข้องกับ “ความทรงจำของการทำงาน” (Working memory) ก็คืองานที่บุคคลหนึ่งจะยึดถือวัสดุไว้ในใจ เป็นช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่ดำเนินการ (Carry out) เกี่ยวกับวัสดุที่ยึดถืออยู่นั้น อาจมีวัสดุอื่นที่เข้ามาใหม่ นี่เป็นรูปแบบของความทรงจำระยะสั้น (Short-term memory : STM) ที่ผู้คนส่วนใหญ่เข้าใจ
28 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
แอสเบสทอส แร่ใยหินอันตราย (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
แอสเบสทอสได้ถูกนำมาใช้กับผลิตภัณฑ์หลายอย่าง เช่น เกือกเบรกรถยนต์ (Car brake shoes) คลัตช์ (Clutch pads) ประเก็น (Gasket) และวัสดุก่อสร้างซึ่งรวมถึงกระเบื้องเพดานและกระเบื้องปูพื้น สารเคลือบผิว (Coating) สารยึดติด (Adhesives) ฉนวนกันความร้อนและป้องกันไฟ และอื่นๆ
27 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) ตอน: กินอย่างไรให้สวยจากข้างใน
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
อาหารที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น วิตามินเอ (เบต้าแคโรทีน) วิตามินซี และวิตามินอี ช่วยลดความเสี่ยงของการที่เซลล์ผิวหนังถูกทำลายได้ โดยเฉพาะเมื่อใช้ร่วมกับแร่ธาตุสังกะสี และแร่ธาตุซีลีเนียม
27 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
แอสเบสทอส แร่ใยหินอันตราย (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
แอสเบสทอส (Asbestos) เป็นแร่ใยหินซึ่งมีเส้นใยขนาดเล็กบางมาก (Thin microscopic fibers) เป็นเส้นใยที่ทนต่อความร้อน ไฟ และสารเคมี ไม่เป็นสื่อไฟฟ้า ดังนั้นจึงมีการนำแอสเบสทอสไปใช้ในการก่อสร้าง การผลิตรถยนต์ และอุตสาหกรรมอื่นๆ
26 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ลมชัก ฉันรักเธอ ภาค2 : ตอน น้องออย…รักแม่นะ
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
การขึ้นวอร์ดเด็กในช่วงแรกเป็นอะไรที่น่าเบื่อมากๆ สำหรับหนู จริงอยู่ว่าเด็กนั้นแสนจะน่ารัก แต่สิ่งที่หนูไม่ชอบเลยคือการราวด์วอร์ดซ้ำแล้วซ้ำเล่า เด็กเป็นอะไรที่ละเอียดอ่อน โดยเฉพาะเด็กเล็กๆ เพราะเจ้าตัวน้อยยังบอกเราไม่เป็นว่าเขามีอาการอย่างไร ไม่สบายตรงไหน
26 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน – ภาคที่ 3 จิตวิทยาผู้ใหญ่ตอนที่ 89 : ภาวะสมองแยก (4)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ไมเคิล แกสซานิก้า (Michael Gazzanica) ซึ่งเป็นนักประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuro-scientist) ผู้ได้ศึกษาผู้ป่วยที่สมองถูกแบ่งแยก (Split brain) เป็นเวลากว่า 40 ปี เชื่อมั่นว่า แต่ละซีกสมองมีโปรแกรมทางจิต (Mental program) มากมายที่แตกต่างกัน อาทิ การคิด การเรียนรู้ การรู้สึก และการพูด ซึ่งทั้งหมดนี้สามารถทำงานในเวลาเดียวกัน (Simultaneously)
25 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 52 : กีฬากับคุณค่าในตนเอง (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
เมื่อไม่กี่ปีมานี้ นักจิตวิทยาพัฒนาการ (Developmentalist) เริ่มพิจารณาถึงผลประโยชน์ของการเล่นด้วยการออกกำลังกายอย่างกระฉับกระเฉง (Physical active play) โดยคาดเดา (Speculate) ว่า เป็นกลไก (Mechanism) ของการสร้างความแข็งแกร่งและความทนทาน (Endurance) ให้กล้ามเนื้อใหญ่ และอาจลดระดับไขมันในวัยรุ่นที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต
24 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ช็อกเฉียบพลัน (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
การรักษา TSS สามารถทำได้โดย การให้ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) ในระหว่างที่แพทย์กำลังหาบริเวณที่ติดเชื้อ กินยาเพื่อควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติ ให้สารน้ำ (Intravenous fluids) เพื่อรักษาภาวะขาดน้ำ (Dehydration) การกรองของเสียจากเลือดของคนไข้ (Dialysis) ให้การรักษาแบบประคับประคองตามอาการ (Supportive care)
23 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ลมชัก ฉันรักเธอ ภาค2 : เมื่อน้องออยพบเพื่อนใหม่หัวใจเดียวกัน
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
เมื่อไม่กี่นาที่ที่ผ่านมา น้องผู้หญิงคนหนึ่ง กับคุณพ่อ คุณแม่ ได้มาหาหนูถึงบ้าน เพียงเพราะอยากเจอหนูเท่านั้น....ก่อนหน้านี้ แม่ของน้องก็โทรมาบ่อยๆ เล่าให้ฟังว่า แม่ได้อ่านหนังสือที่หมอออยเขียนแล้วประทับใจมาก เข้าใจความรู้สึกของลูกตัวเองมากขึ้น เลยอยากให้น้องได้เจอพี่ออย เพราะน้องเป็นโรคลมชัก มีอาการเช่นเดียวกับออย
23 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน: การแปลผลที่ได้จากการศึกษาวิจัย
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
วันนี้ ที่คุยเรื่องนี้ เพราะชอบที่จะนำเอางานการศึกษาทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็งมาเขียนเล่าให้ฟัง จึงเกิดความกังวลว่า ผู้อ่านอาจนำไปปฏิบัติจนอาจเกินเลย จนเกิดผลเสียต่อการใช้ชีวิตประจำวันได้ จึงขอถือโอกาสคุยให้ฟังถึง วิธีแปลผลจากงานการศึกษาต่างๆ...
22 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ช็อกเฉียบพลัน (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
TSS เกิดจากการที่แบคทีเรียเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและปล่อยความเป็นพิษออกมา โดยพิษจะซึมเข้าสู่กระแสเลือด...
22 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ช็อกเฉียบพลัน (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภาวะ Toxic shock syndrome หรือ ช็อกเฉียบพลันที่เกิดจากพิษของแบคทีเรียในหญิงมีประจำเดือน ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เคยเป็นเรื่องใหญ่จนคร่าชีวิตผู้หญิงหลายคนมาแล้ว โดยสาเหตุหลักๆ ก็คือ การใส่ผ้าอนามัยแบบสอดหรือแทมปอน (Tampon) ไว้นานเกินไปจนก่อให้เกิดแบคทีเรียจำนวนมาก และเข้าไปทำอันตรายต่ออวัยวะภายในร่างกายของผู้หญิง
21 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 2 จิตวิทยาวัยรุ่น ตอนที่ 51 : วัยรุ่นมองตนเอง (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
เราอาจเรียกวัฒนธรรมของสังคมตะวันออก อาทิ อินเดีย ญี่ปุ่น และจีน [รวมทั้งไทยด้วย] ว่าเป็น “สังคมส่วนรวม” (Collective หรือ Communal) ที่ให้คุณค่าแก่ความร่วมมือ (Cooperation) และการพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Interdependence) มากกว่าการแข่งขัน (Competition) และการพึ่งพาตนเอง (Independence)
21 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) ตอน: อาหารต้านเครียด
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
วิถีชีวิตของคนไทยในปัจจุบันมีความเครียดสูง โดยการแสดงออกทางด้านร่างกาย คือ เครียด นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ อ่อนเพลียเรื้อรัง กระทบต่อสุขภาพโดยรวม
20 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
กาฬโรค ความตายสีดำ (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคเพิ่มขึ้น ได้แก่ ภูมิประเทศ – มักเกิดในแถบชนบทหรือในเมืองที่แออัด ระบบสาธารณสุขด้อยประสิทธิภาพ มีประชากรหนูเป็นจำนวนมาก อาชีพ – สัตวแพทย์และผู้ช่วย มีความเสี่ยงในการติดเชื้อจากแมวบ้านที่เลี้ยงไว้ซึ่งติดเชื้อกาฬโรคจากการถูกหมัดกัดหรือจากการกินหนูที่มีเชื้อ...
20 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
กาฬโรค ความตายสีดำ (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
มีการพบการแพร่ระบาดของกาฬโรคในแอฟริกา เอเชีย และอเมริกาใต้ แต่ภายหลังจากปี พ.ศ.2533 มักพบการแพร่ระบาดในแอฟริกา โดยในปี พ.ศ.2556 มีรายงานการติดเชื้อทั่วโลก 783 ราย และเสียชีวิต 126 ราย ทั้งนี้ประเทศที่มีการระบาดมากที่สุดได้แก่ ประเทศมาดากัสการ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และเปรู...
19 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ลมชัก ฉันรักเธอ ภาค2 : น้องออยทำได้
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
สภาพจิตใจของหนูค่อยๆ ดีขึ้นเรื่อยๆ หลังจากได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง หนูกลับมาเรียนได้ตามปกติ แม้ว่าบางอย่างหนูอาจจะต้องมาเร่งอ่านอีกครั้ง (เพราะตอนที่ซึมเศร้ามากๆ หนูไม่ยอมเรียนอะไรเลย) แต่สุดท้ายหนูก็สอบผ่าน eye จนได้ หนูรู้สึกมีความหวัง มีกำลังใจมากขึ้น กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง...
19 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ภาวะพร่องเซลล์ต้นแบบของ limbus (Limbal stem cell deficiency)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ผิวตาของคนเรา (หมายถึง ผิวตาดำและผิวเยื่อบุตาหรือตาขาว) ประกอบด้วยเซลล์เยื่อบุผิว (epithelium) คล้ายเซลล์ผิวของผิวหนัง เซลล์ผิวของผิวหนังมีการหลุดลอกไป (คล้ายขี้ไคล) ชั้นถัดไปหรือเซลล์ผิวข้างๆ จะเข้ามาแทนที่ ส่วนผิวตาของคนเรา
18 ธันวาคม 2014
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หน้า 139/225:
ก่อนหน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
ถัดไป
ถั่วเหลืองกับสุขภาพ เมนูที่2 เมนู วุ้นน้ำเต้าหู้งาดำ-ฟรุตสลัด
โดย กาญจนา ฉิมเรือง
ลดน้ำหนักลดอาหาร มักอยู่นานอายุยืน (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย ปฐมา ลอออรรถพงศ์
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน ผลของรังสีรักษาในเนื้องอกพังผืดชนิดรุกรานรุนแรง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
ลมชักฉันรักเธอ ภาค2: น้องออยทำได้ (ตอนสุดท้ายของภาค2)
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
หมอสมศักดิ์ตอบ: TOR ที โอ อาร์
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ไทฟอยด์ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ศิริราชผ่าตัดส่องกล้องรักษา “ภาวะกระเพาะปัสสาวะอุดกั้น” (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย ปราง เทพินทราภิรักษ์
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ กินอย่างไรดี
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
รีวิวตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
โดย ทีมงาน Haamor.com
สาระน่ารู้จากหมอตาตอน Thyroid diet (อาหารสำหรับสุขภาพ Thyroid)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ผมร่วง ศีรษะล้าน รักษาได้ ตอน ลดผมร่วง ขาดง่าย
โดย พญ.ชลธิรศน์ ศรีเกษตรสรากุล
การจัดการภาวะแทรกซ้อนยาต้านรีโทรไวรัส ตอน 25
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
เด็กที่ความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (ตอนจบ)
โดย โสธิดา ผุฏฐธรรม
จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 201 : สู่ปัจจัยทางจิตและสุขภาพ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
Hoarding Disorder โรคเก็บสะสมของ (ตอนที่ 1)
โดย พ.ท.หญิง กุลกานต์ ฤทธิ์ฤๅชัย รัตนวราหะ
ปัจจัยมนุษย์หรือการยศาสตร์ (ตอนที่ 8 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 12 (ตอนจบ)
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
โภชนาการกับการหายของแผล(Nutrition in Wound Care) ตอนที่ 6
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
สมาชิกที่ใช้งานอยู่ขณะนี้ 1 คน
sohotghostlife
หน้าหลัก
|
ข่าว/บล็อก
|
บทความสุขภาพ
|
ค้นหาโรงพยาบาล
|
เว็บบอร์ด
|
ข้อตกลงการใช้งาน
|
เกี่ยวกับเรา
|
แพ็คเกจสุขภาพ
ขอสงวนสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ห้ามมิให้ทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ตีพิมพ์ เผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของ website หาหมอ.com ก่อน และบทความ ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com เป็นเพียงความคิดเห็นของผู้เขียน ไม่สามารถนำไปเป็นหลักฐานในการฟ้องร้อง หรือใช้ทดแทนคำวินิจฉัย และ หรือ การรักษาจากแพทย์ได้
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิงและความงาม
เกร็ดสุขภาพ
สุขภาพทั่วไป
เพศศึกษา
ข่าว/บล็อก
กรดไหลย้อน
กรวยไตอักเสบ
ความดันโลหิตต่ำ
ความดันโลหิตสูง
ดาวน์ซินโดรม
ธาลัสซีเมีย
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคของจอตา
ปอดบวมในเด็ก
ปัสสาวะรดที่นอน
พังผืดที่จอตา
ต้อเนื้อ
ตาบอดสี
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก
โรคพยาธิใบไม้ตับ
โรคลมชัก
โรคตับอักเสบ
โรคภูมิแพ้หูคอจมูก
ระยะหลังคลอด
คันทวารหนัก
ช่องคลอดมีกลิ่น
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส
โรคสมองเสื่อม
ปวดหลังช่วงล่าง
การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติ
โรคติดเชื้อเอชพีวี
สิ่งแปลกปลอมในจมูก
การแท้งบุตร
โรคมะเร็งคอหอย
© 2011-2012 HaaMor.com. All rights reserved.