เข้าสู่ระบบ
|
ลงทะเบียน
Tweet
ค้นหาตามอาการ
ค้นหาตามอวัยวะ
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิง
เพศศึกษา
สุขภาพทั่วไป
เกร็ดสุขภาพ
หน้าหลัก
»
บล็อก
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: การใช้ยาหยอดตาผิดผิด
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุณแม่พาบุตรชายวัย 12 ปี มาจากจังหวัดพิษณุโลกเพื่อมารักษาตาที่แดง น้ำตาไหล ขยี้ตาเป็นประจำมา2 – 3 ปี เคยไปรับการตรวจจากหมอตาที่พิษณุโลกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิแพ้ เมื่อใช้ยาอาการก็หายดีไปชั่วคราว โดยไปพบหมอเพียงครั้งเดียว
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 16 : ประสบการณ์จากอังกฤษ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Ageing) มิใช่เป็นประเด็นโดดเด่น (Unique) ของสมัยปัจจุบัน เพียงแต่ว่าใน 2 – 3 ร้อยปีที่ผ่าน มันได้กลายเป็นสิ่งธรรมดาสามัญ (Commonplace) โดยมีการสันนิษฐานกันว่า ผู้สูงอายุยุคก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic) เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก (Extremely rare)
4 สิงหาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารอลูมิเนียม เป็นสารที่มีพิษต่อประสาท อาจทำให้ความจำแย่ลง อารมณ์ผิดปกติ เช่น หดหู่ซึมเศร้า วิตกกังวล ทั้งนี้สารอลูมิเนียมจะไปรบกวนการทำงานของเซลล์ในสมอง โดยระดับอลูมิเนียมที่สูงจะมีส่วนสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid proteins) และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน โรคไร้ม่านตา (Aniridia)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ม่านตา (iris) เป็นส่วนของตาที่อยู่ภายในลูกตา มีสีน้ำตาลถึงค่อนข้างดำในชาวเอเชีย แต่ออกสีฟ้าหรือเทาอ่อนในชาว caucacian เป็นส่วนของตาที่มีเลือดมาเลี้ยงมากมาย เป็นแผ่นคล้ายเหรียญสตางค์ที่มีรูตรงกลาง (ที่เรียกว่า รูม่านตา) ยืดและหดได้เพื่อปกป้องให้แสงเข้าตาอย่างเหมาะสม
15 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 15 : การฆ่าตัวตายในวัยชรา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในบรรดากลุ่มผู้คนที่ฆ่าตัวตาย (Suicide) ปรากฏว่า อัตราสูงสุดอยู่ในกลุ่มวัยชรา (Elderly) สำหรับคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป อัตราฆ่าตัวตาย (รวมทั้งการมีแพทย์ช่วยฆ่าตัวตาย) ในสหรัฐอเมริกาสูงเกือบ 2 เท่า (20 ต่อ 100,000 คน) เมื่อเทียบกับตัวเลขถัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (12 ต่อ 100,000 คน)
29 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารตะกั่ว ข้อมูลของ The Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ระบุว่า อาการจะแย่ลงหากมีปริมาณสารตะกั่วสะสมในเลือดมาก ซึ่งอาการโดยทั่วไปได้แก่ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดเกร็งท้อง (Stomach cramps) ท้องผูก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย เจ้าอารมณ์ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ โลหิตจาง
21 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน คนเผือก (Albinism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
โรคเผือก หรือ โรคคนเผือก หรือ สภาพเผือก (Albinism) เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์หรือการกระจายของเม็ดสีของเซลล์ในร่างกายผิดปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยมี ผิวหนัง ผม หรือร่วมกับสีตาที่อ่อนกว่าปกติ ภาวะนี้เกิดได้ในคน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
8 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 14 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ทีมนักวิจัยของนายแพทย์จอร์จ เดวี่-สมิธ (George Davey-Smith) ได้กล่าวสรุปหลังการวิเคราะห์อัตราการตายของผู้ชายเกือบ 1,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 59 ปี ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเวลส์ (Wales) ว่า กิจกรรมทางเพศ (Sexual activity) ดูเหมือนจะมีผลกระทบที่ป้องกัน (Protective effect) สุขภาพของผู้ชาย....
22 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผลของสารพิษโลหะสามารถทำให้เกิดพิษได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อโดยตรงและรบกวนการทำงานของขั้นตอนการเผาผลาญอาหาร (Metabolic processes) 2. ทำลายสารอาหารอันเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะสารอาหารบกพร่องของร่างกาย (Nutritional Deficiencies)
20 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ตาบอด (Blindism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนตาบอด(Blindism)โดยเฉพาะที่เป็นแต่เด็ก ไม่เคยมองเห็นมาก่อน แม้จะปรับตัวและมีสภาพจิตใจที่ดีกว่าคนตาบอดที่เกิดในภายหลัง คนตาบอดกลุ่มนี้มักจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากคนตาดี ซึ่งบางอย่างควรจะแก้ไขเพื่อว่าเขาจะสามารถอยู่ในสังคมเดียวหรือเหมือนคนปกติได้ พฤติกรรมแปลกๆ ต่างๆ ได้แก่....
1 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 13 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
นักวิจัยรายงานผลว่า ผู้หญิงที่พบว่ากิจกรรทางเพศเติมความเต็ม (Fulfilling) และความสมบูรณ์ (Enriching) ให้ชีวิต ก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีแนวโน้มที่จะดื่มด่ำความสุขจากกิจกรรมทางเพศหลังวัยหมประจำเดือน และเข้าสู่ผู้ใหญ่วัยดึก (Late adulthood)...
15 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีหนังสือแจ้งไปยังนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่ อ.ชัยบาดาล จำนวน 8 แห่ง ประกอบไปด้วย อบต.ห้วยหิน อบต.ม่วงค่อม อบต.ท่าดินดำ อบต.ชัยนารายณ์ อบต.ลำนารายณ์ อบต.บ้านใหม่สามัคคี อบต.ศิลาทิพย์ และอบต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล ว่าจะจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน...
19 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ประเมินสายตาเด็กเล็กได้อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เด็กแรกเกิดที่ท้องครบกำหนดและคลอดปกติ ลักษณะทางกายภาพของตาอาจจะมองดูปกติ มีส่วนต่างๆภายในลูกตาปกติ แต่การมองเห็นจะยังไม่สมบูรณ์นัก กล่าวคือจอตาซึ่งบุอยู่ภายในลูกตายังพัฒนาไม่เต็มที่ เด็กแรกเกิดจึงมีการมองเห็นอยู่ในขั้นเลือนรางทันทีที่เด็กลืมตา มีแสงสว่างเข้าตาไปกระทบจอตา การพัฒนาการมองเห็นจะเริ่มขึ้นและดำเนินไปเรื่อยๆ
24 กันยายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 12 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มักใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้คนที่มีอายุระหว่าง 17 ถึง 59 ปี โดยรายงานว่า ชายโสดมีคู่ขาประจำทางเพศ (Sex partner) บรรลุจุดสุดยอด (Orgasm) บ่อยถี่กว่า และสำเร็จความใคร่ (Masturbate) มากกว่า หญิงโสด และประมาณ 1 ใน 3 ของคู่แต่งงาน มีเพศสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง...
8 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภายหลังการผ่าตัดเพื่อตัดกระเพาะปัสสาวะออก จะมีการทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion) ได้หลายวิธี เช่น แพทย์อาจใช้ท่อ (Urinary conduit) ต่อจากท่อไต (Ureters) เพื่อถ่ายน้ำปัสสาวะออกจากร่างกายไปที่ถุงหน้าท้อง (Urostomy bag)
17 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 11 : เหตุผลของชราภาพ (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
อีกทฤษฎีหนึ่ของชราภาพ กล่าวว่า ร่างกายของคนเราเสื่อมสภาพลง เพราะมีการตั้งเวลาใน “นาฬิกาชีวภาพ” (Biological clock) ไว้ล่วงหน้า (Pre-set) ซึ่งจะกำหนดจำนวนครั้งที่เซลล์สามารถแบ่งตัวและทวีคูณได้ (Divide and multiply) เมื่อถึงเวลาดังกล่าว เซลล์ก็จะเริ่มเสื่อมลงและตายไป...
1 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เครื่องคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
หมอคาร์เซน เลนเนิส แห่งศูนย์โรคหัวใจเยอรมนี ที่เมืองมิวนิก ได้เตือนถึงผู้ที่จำเป็นจะต้องใช้เครื่องคุมจังหวะหัวใจว่า เครื่องคุมจังหวะหัวใจนั้นไม่กินเส้นกับโทรศัพท์มือถือนัก...
1 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อัมพาต 360 องศา: ตอน อัมพาต คือ โรคเวรโรคกรรมจริงเหรอ
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
อัมพาตเป็นโรคที่พบบ่อย เป็นโรคที่ใครๆ ก็ไม่อยากเป็น แต่ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้มากนัก เพราะโรคอัมพาตเป็นโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ พบบ่อยในผู้ที่มีโรคประจำตัวเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง อ้วน และผู้ที่มีประวัติโรคอัมพาตในครอบครัว ด้วยเหตุนี้เองที่คนมักเข้าใจว่าโรคอัมพาตเป็นโรคเวรโรคกรรม เพราะเมื่อคนเราเมื่อเวลาผ่านไป อายุมากขึ้น...
30 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน: ภาวะอ้วนช่วงวัยหนุ่มมีความสัมพันธ์กับมะเร็งลำไส้ใหญ่
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
โดยทั่วไป เมื่อกล่าวถึงโรคอ้วนกับการเกิดโรคมะเร็ง มักหมายถึงโรคอ้วนในผู้ใหญ่ แต่เรื่องที่จะเล่าให้ฟัง เป็นการเจาะจงศึกษาโรคอ้วนที่เกิดในวัยหนุ่มเท่านั้น คือผู้ชาย อายุช่วง 16-20 ปี ว่า จะเกี่ยวข้องกับโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่หรือไม่ การศึกษาไม่ระบุว่าทำไมศึกษาเฉพาะเพศชาย และทำไมต้องเป็นช่วงอายุนี้...
29 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 3 จิตวิทยาผู้ใหญ่ ตอนที่ 11 : บทบาทของเพศ (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในสหรัฐอเมริกา อิทธิพลของบทบาทของเพศ (Gender role) ต่อบุคลิกภาพ (Personality) เริ่มชัดเจนเมื่อนักวิจัยสอบถามนักศึกษามหาวิทยาลัยให้อธิบายอุปนิสัยของแบบฉบับ (Typical trait) ของผู้ชายและผู้หญิง โดยนักศึกษาเห็นด้วยว่า . . .
28 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อัมพาต 360 องศา: ตอน ขอบคุณครับ
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ที่แผนกผู้ป่วยนอก แผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ผู้ป่วยชายสูงอายุท่านหนึ่งได้มามอบกระเช้าผลไม้ตะกร้าใหญ่มาก และส้มอีก 1 กล่องใหญ่ ผมจึงขอบคุณผู้ป่วย แล้วสอบถามว่าคุณลุงเจ็บป่วยเป็นโรคอะไร เพราะไม่เห็นว่ามีอาการผิดปกติอะไรเลย...
26 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: หัดเยอรมัน
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เมื่อหลายปีก่อน เคยเป็นอาสาสมัครตรวจโรคตา ดูสภาพสายตาของเด็กนักเรียนโรงเรียนตาบอดแห่งประเทศไทย ที่อยู่ตรงข้ามโรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อดูสาเหตุของตาบอดในเด็ก ตลอดจนคัดกรองเด็กนักเรียนในโรงเรียนตาบอด อาจมีบางรายที่ยังต้องการรับการรักษาเพื่อให้สายตาดีขึ้น...
25 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สูงยาวเข่าดี ได้ไง (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
สำหรับเทคนิคที่ช่วยเพิ่มความสูงได้ก่อนที่ความสูงจะหยุดในช่วงวัยหนุ่มสาวมีดังนี้ ประเมินความสูงของร่างกาย โดยดูจากความสูงของพ่อแม่ และ บวกความสูงของพ่อและแม่รวมกัน (หน่วยเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร) สำหรับเด็กผู้ชายให้บวกด้วย 5 นิ้ว (13 เซนติเมตร) สำหรับเด็กผู้หญิงให้ลบออกด้วย 5 นิ้ว (13 เซนติเมตร)
24 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 10 : เหตุผลของชราภาพ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Aging) มี 2 ประเภท ประเภทแรกเป็นชราภาพตามปรกติ (Normal) ซึ่งเป็นกระบวนการไปตามธรรมชาติที่ค่อยๆ ชะลอลงทั้งทางร่างกาย (Physical) และจิตใจ (Psychological) ตั้งแต่ผู้ใหญ่วัยกลางคน จนถึงผู้ใหญ่วัยปลาย ส่วนประเภทที่ 2 เป็นชราภาพตามพยาธิ (Pathological) ซึ่งมีสาเหตุจากความบกพร่องทางพันธุกรรม (Genetic defects)
24 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อัมพาต 360 องศา: ตอน มาแล้วแต่พยาบาลว่าไม่ใช่
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ยังมีอีก 2 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับอนุบาลศึกษา กล่าวคือ โปรแกรมครบรอบวงจร (Looping) และการสอบตกซ้ำชั้น (Retention) ประเด็นแรก เป็น โปรแกรมที่เกิดขึ้นเมื่อครูใช้เวลา 2 ปี หรือมากกว่านั้น อยู่กับเด็กกลุ่มเดียวกัน (Same group) ที่มีอายุเดียวกัน...
23 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สูงยาวเข่าดี ได้ไง (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภก.ประพนธ์ อางตระกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กล่าวถึงกรณีมีการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่สามารถเพิ่มความสูงได้ ว่า อย.ไม่เคยอนุญาตให้มีการโฆษณาอาหารเสริมใดๆ ว่า สามารถทำให้โครงสร้างร่างกายมนุษย์เปลี่ยนแปลงได้ หรือสามารถรักษาโรคได้...
23 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน: ยาระบายก่อนส่องกล้องกับไตอักเสบ
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
การส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (Colonoscope)เพื่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ หรือ เพื่อวินิจฉัยโรคต่างๆของลำไส้ จำเป็นต้องทำความสะอาด ล้างเอาอุจจาระในลำไส้ใหญ่ออกให้หมดเสียก่อนด้วยการกินยาระบายล่วงหน้าก่อนตรวจ 1-3 วันร่วมกับการจำกัดอาหารประเภทมีกากอาหารมาก...
22 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 3 จิตวิทยาผู้ใหญ่ ตอนที่ 10 : บทบาทของเพศ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
เมื่อเด็ก (ชายและหญิง) เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ (ชายและหญิง) เขาเริ่มแสวงหาหรือได้รับ (Acquire) กฎเกณฑ์ต่างๆ ทางสังคมและบุคลิกภาพ (Personality) ที่เกี่ยวข้องกับ “บทบาทของเพศ” (Gender role) บทบาทดังกล่าว เป็นพฤติกรรม (Behavior) ทัศนคติ (Attitude) ค่านิยม (Value) และอุปนิสัยบุคลิกภาพ (Personality trait) ที่มีมาแต่ดั้งเดิม (Traditional) หรือเป็นแบบฉบับ (Stereotype) ที่สังคมกำหนดว่า...
21 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อัมพาต 360 องศา: ตอน ถ้าลุงรู้ว่าดีทำไมจะไม่มา
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
เช้าวันหนึ่งผมไปดูผู้ป่วยที่หอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผมได้ดูผู้ป่วยมาถึงเตียงหนึ่ง เป็นผู้ป่วยสูงอายุประมาณ 70 ปี มีอาการของโรคอัมพาต แต่มาไม่ทัน 270 นาที เพราะผู้ป่วยมาพบแพทย์หลังจากมีอาการนานถึง 2 วันเต็มๆ ซึ่งหายากมากในปัจจุบัน เนื่องจากผู้ป่วยจะมาพบแพทย์เร็วเป็นส่วนใหญ่ ถึงแม้จะมาไม่ทัน 270 นาทีก็ตาม...
19 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เมิร์ส อีกแล้ว (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
เนื่องจากอาการติดเชื้อเมิร์สนั้นจะคล้ายๆ กับอาการติดเชื้ออื่น ทำให้ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าคนนั้นมีการติดเชื้อเมิร์สแล้ว การแพร่ระบาดในหลายแห่งจึงเกิดจากติดเชื้อระหว่างการดูแลผู้ป่วย หรือติดเชื้อระหว่างผู้ป่วยด้วยกันเอง ก่อนที่จะทราบว่าบุคคลนั้นๆ ติดเชื้อเมิร์ส ดังนั้นผู้ดูแลผู้ป่วยควรได้รับการอบรมถึงการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ...
19 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) ตอน: การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (ตอนการเสริมสร้างการดำเนินชีวิตที่ทำให้มีสุขภาพดี) Part.2
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
การเสริมสร้างการดำเนินชีวิตที่ทำให้มีสุขภาพดี หมายถึง การดำเนินชีวิตที่ประสาน สอดคล้องต่อธรรมชาติ คือ การรับประทานอาหารที่ถูกต้องครบถ้วนทุกหมวดหมู่ การปรุงอาหารที่รักษาคุณภาพของสารอาหาร สุขลักษณะการปรุงอาหารที่สะอาด รับประทานอาหารที่พอเพียงเพื่อให้ได้สารอาหารที่จำเป็นในการเสริมสร้างและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ...
19 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) ตอน: โภชนาการสำหรับผู้ป่วยโรคตับและท่อน้ำดี Part.1
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
ตับเป็นอวัยวะที่สำคัญของร่างกายซึ่งทำหน้าที่หลัก คือการกำจัดของเสีย ผลิตโปรตีนที่สำคัญต่อการ metabolism ของร่างกายและเป็นแหล่งสะสมสารอาหาร เช่น glycogen เหล็ก ทองแดงและวิตามินต่างๆ โรคตับเรื้อรังเป็นโรคที่พบได้บ่อยทางเวชปฏิบัติ...
19 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: เยื่อบุตาอักเสบในเด็กแรกเกิด (Ophthalmia Neonatorum)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เยื่อบุตาอักเสบในเด็กแรกเกิด (Ophthalmia Neonatorum) หมายถึง เยื่อบุตาอักเสบในเด็กตั้งแต่แรกเกิด ถึงอายุ 1 เดือน เป็นการอักเสบที่พบบ่อยสุดในเด็กวัยนี้ เป็นได้ทั้งจากการติดเชื้อต่างๆ และที่ไม่ติดเชื้อ ได้แก่ 1. การอักเสบจากยาหยอดหรือยาป้ายตาที่ใช้ป้องกันโรคที่ใช้บ่อย ได้แก่ 1% Silver Nitrate...
18 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เมิร์ส อีกแล้ว (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า เกาหลีใต้พบผู้เสียชีวิตจากการติดเชื้อไวรัส กลุ่มอาการทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือ เมิร์ส (MERS) ในประเทศอย่างต่อเนื่อง ทำให้ยอดผู้ติดเชื้อ MERS ทั้งหมดในเกาหลีใต้เพิ่มขึ้นเป็น 138 คน ซึ่งนับเป็นการแพร่ระบาดของไวรัสมรณะครั้งใหญ่ที่สุด รองจากในซาอุดีอาระเบีย...
18 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 9 : การสูญเสียความทรงจำ (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
พอลลี่ แวน เบ็นธิวเซ่น (Polly van Benthusen) ทำงานในสำนักงานประกันสังคม (Social Security) เป็นเวลา 28 ปี เมื่อใดก็ตามที่มีคนอยากรู้รายละเอียดเกี่ยวกับกรณีนับร้อยๆ ราย ทุกคนก็จะพูดว่า “ถามพอลลี่ซิ เธอจำได้หมดทุกอย่าง” ดังนั้น เธอถึงกับตกตะลึง (Shock) เมื่อพบว่า ความจำที่ทำให้มีชื่อเสียงโด่งดังกำลังสูญเสียไป...
17 มิถุนายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หน้า 126/224:
ก่อนหน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
ถัดไป
ลมชักฉันรักเธอ ภาค2: น้องออยทำได้ (ตอนสุดท้ายของภาค2)
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ลดน้ำหนักลดอาหาร มักอยู่นานอายุยืน (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย ปฐมา ลอออรรถพงศ์
รีวิวตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
โดย ทีมงาน Haamor.com
โภชนาการกับการหายของแผล(Nutrition in Wound Care) ตอนที่ 6
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
โรคเกลียดเสียง: ตอนที่ 2 และเป็นตอนจบ
โดย พ.ท.หญิง กุลกานต์ ฤทธิ์ฤๅชัย รัตนวราหะ
ถั่วเหลืองกับสุขภาพ เมนูที่2 เมนู วุ้นน้ำเต้าหู้งาดำ-ฟรุตสลัด
โดย กาญจนา ฉิมเรือง
ไทฟอยด์ (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
เด็กที่ความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (ตอนจบ)
โดย โสธิดา ผุฏฐธรรม
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน ผลของรังสีรักษาในเนื้องอกพังผืดชนิดรุกรานรุนแรง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
ผมร่วง ศีรษะล้าน รักษาได้ ตอน ลดผมร่วง ขาดง่าย
โดย พญ.ชลธิรศน์ ศรีเกษตรสรากุล
ปัจจัยมนุษย์หรือการยศาสตร์ (ตอนที่ 8 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
ศิริราชผ่าตัดส่องกล้องรักษา “ภาวะกระเพาะปัสสาวะอุดกั้น” (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย ปราง เทพินทราภิรักษ์
หมอสมศักดิ์ตอบ:7 ความเข้าใจผิดของคนไทยต่อการบริบาลที่ห้องฉุกเฉินของรัฐ
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
จิตวิทยาผู้ใหญ่ตอนที่ 201: การสะกดจิต (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
สาระน่ารู้จากหมอตาตอน Thyroid diet (อาหารสำหรับสุขภาพ Thyroid)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ กินอย่างไรดี
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 12 (ตอนจบ)
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
การจัดการภาวะแทรกซ้อนยาต้านรีโทรไวรัส ตอน 25
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
สมาชิกที่ใช้งานอยู่ขณะนี้ 2 คน
May1901 sunreban2014
หน้าหลัก
|
ข่าว/บล็อก
|
บทความสุขภาพ
|
ค้นหาโรงพยาบาล
|
เว็บบอร์ด
|
ข้อตกลงการใช้งาน
|
เกี่ยวกับเรา
|
แพ็คเกจสุขภาพ
ขอสงวนสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ห้ามมิให้ทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ตีพิมพ์ เผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของ website หาหมอ.com ก่อน และบทความ ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com เป็นเพียงความคิดเห็นของผู้เขียน ไม่สามารถนำไปเป็นหลักฐานในการฟ้องร้อง หรือใช้ทดแทนคำวินิจฉัย และ หรือ การรักษาจากแพทย์ได้
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิงและความงาม
เกร็ดสุขภาพ
สุขภาพทั่วไป
เพศศึกษา
ข่าว/บล็อก
กรดไหลย้อน
กรวยไตอักเสบ
ความดันโลหิตต่ำ
ความดันโลหิตสูง
ดาวน์ซินโดรม
ธาลัสซีเมีย
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคของจอตา
ปอดบวมในเด็ก
ปัสสาวะรดที่นอน
พังผืดที่จอตา
ต้อเนื้อ
ตาบอดสี
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก
โรคพยาธิใบไม้ตับ
โรคลมชัก
โรคตับอักเสบ
โรคภูมิแพ้หูคอจมูก
ระยะหลังคลอด
คันทวารหนัก
ช่องคลอดมีกลิ่น
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส
โรคสมองเสื่อม
ปวดหลังช่วงล่าง
การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติ
โรคติดเชื้อเอชพีวี
สิ่งแปลกปลอมในจมูก
การแท้งบุตร
โรคมะเร็งคอหอย
© 2011-2012 HaaMor.com. All rights reserved.