เข้าสู่ระบบ
|
ลงทะเบียน
Tweet
ค้นหาตามอาการ
ค้นหาตามอวัยวะ
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิง
เพศศึกษา
สุขภาพทั่วไป
เกร็ดสุขภาพ
หน้าหลัก
»
บล็อก
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: การใช้ยาหยอดตาผิดผิด
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คุณแม่พาบุตรชายวัย 12 ปี มาจากจังหวัดพิษณุโลกเพื่อมารักษาตาที่แดง น้ำตาไหล ขยี้ตาเป็นประจำมา2 – 3 ปี เคยไปรับการตรวจจากหมอตาที่พิษณุโลกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิแพ้ เมื่อใช้ยาอาการก็หายดีไปชั่วคราว โดยไปพบหมอเพียงครั้งเดียว
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 16 : ประสบการณ์จากอังกฤษ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ชราภาพ (Ageing) มิใช่เป็นประเด็นโดดเด่น (Unique) ของสมัยปัจจุบัน เพียงแต่ว่าใน 2 – 3 ร้อยปีที่ผ่าน มันได้กลายเป็นสิ่งธรรมดาสามัญ (Commonplace) โดยมีการสันนิษฐานกันว่า ผู้สูงอายุยุคก่อนประวัติศาสตร์ (Pre-historic) เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมาก (Extremely rare)
4 สิงหาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารอลูมิเนียม เป็นสารที่มีพิษต่อประสาท อาจทำให้ความจำแย่ลง อารมณ์ผิดปกติ เช่น หดหู่ซึมเศร้า วิตกกังวล ทั้งนี้สารอลูมิเนียมจะไปรบกวนการทำงานของเซลล์ในสมอง โดยระดับอลูมิเนียมที่สูงจะมีส่วนสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid proteins) และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์
22 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน โรคไร้ม่านตา (Aniridia)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ม่านตา (iris) เป็นส่วนของตาที่อยู่ภายในลูกตา มีสีน้ำตาลถึงค่อนข้างดำในชาวเอเชีย แต่ออกสีฟ้าหรือเทาอ่อนในชาว caucacian เป็นส่วนของตาที่มีเลือดมาเลี้ยงมากมาย เป็นแผ่นคล้ายเหรียญสตางค์ที่มีรูตรงกลาง (ที่เรียกว่า รูม่านตา) ยืดและหดได้เพื่อปกป้องให้แสงเข้าตาอย่างเหมาะสม
15 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 15 : การฆ่าตัวตายในวัยชรา
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในบรรดากลุ่มผู้คนที่ฆ่าตัวตาย (Suicide) ปรากฏว่า อัตราสูงสุดอยู่ในกลุ่มวัยชรา (Elderly) สำหรับคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป อัตราฆ่าตัวตาย (รวมทั้งการมีแพทย์ช่วยฆ่าตัวตาย) ในสหรัฐอเมริกาสูงเกือบ 2 เท่า (20 ต่อ 100,000 คน) เมื่อเทียบกับตัวเลขถัวเฉลี่ยทั้งประเทศ (12 ต่อ 100,000 คน)
29 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
- สารตะกั่ว ข้อมูลของ The Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ระบุว่า อาการจะแย่ลงหากมีปริมาณสารตะกั่วสะสมในเลือดมาก ซึ่งอาการโดยทั่วไปได้แก่ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดเกร็งท้อง (Stomach cramps) ท้องผูก นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย เจ้าอารมณ์ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ โลหิตจาง
21 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน คนเผือก (Albinism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
โรคเผือก หรือ โรคคนเผือก หรือ สภาพเผือก (Albinism) เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์หรือการกระจายของเม็ดสีของเซลล์ในร่างกายผิดปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยมี ผิวหนัง ผม หรือร่วมกับสีตาที่อ่อนกว่าปกติ ภาวะนี้เกิดได้ในคน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
8 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 14 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (3)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ทีมนักวิจัยของนายแพทย์จอร์จ เดวี่-สมิธ (George Davey-Smith) ได้กล่าวสรุปหลังการวิเคราะห์อัตราการตายของผู้ชายเกือบ 1,000 คน ที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 59 ปี ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเวลส์ (Wales) ว่า กิจกรรมทางเพศ (Sexual activity) ดูเหมือนจะมีผลกระทบที่ป้องกัน (Protective effect) สุขภาพของผู้ชาย....
22 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ผลของสารพิษโลหะสามารถทำให้เกิดพิษได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อโดยตรงและรบกวนการทำงานของขั้นตอนการเผาผลาญอาหาร (Metabolic processes) 2. ทำลายสารอาหารอันเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะสารอาหารบกพร่องของร่างกาย (Nutritional Deficiencies)
20 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ตาบอด (Blindism)
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
คนตาบอด(Blindism)โดยเฉพาะที่เป็นแต่เด็ก ไม่เคยมองเห็นมาก่อน แม้จะปรับตัวและมีสภาพจิตใจที่ดีกว่าคนตาบอดที่เกิดในภายหลัง คนตาบอดกลุ่มนี้มักจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากคนตาดี ซึ่งบางอย่างควรจะแก้ไขเพื่อว่าเขาจะสามารถอยู่ในสังคมเดียวหรือเหมือนคนปกติได้ พฤติกรรมแปลกๆ ต่างๆ ได้แก่....
1 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 13 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (2)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
นักวิจัยรายงานผลว่า ผู้หญิงที่พบว่ากิจกรรทางเพศเติมความเต็ม (Fulfilling) และความสมบูรณ์ (Enriching) ให้ชีวิต ก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) มีแนวโน้มที่จะดื่มด่ำความสุขจากกิจกรรมทางเพศหลังวัยหมประจำเดือน และเข้าสู่ผู้ใหญ่วัยดึก (Late adulthood)...
15 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ภัยแฝงจากสารพิษโลหะหนัก (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ด้วยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มีหนังสือแจ้งไปยังนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่ อ.ชัยบาดาล จำนวน 8 แห่ง ประกอบไปด้วย อบต.ห้วยหิน อบต.ม่วงค่อม อบต.ท่าดินดำ อบต.ชัยนารายณ์ อบต.ลำนารายณ์ อบต.บ้านใหม่สามัคคี อบต.ศิลาทิพย์ และอบต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล ว่าจะจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน...
19 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ประเมินสายตาเด็กเล็กได้อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
เด็กแรกเกิดที่ท้องครบกำหนดและคลอดปกติ ลักษณะทางกายภาพของตาอาจจะมองดูปกติ มีส่วนต่างๆภายในลูกตาปกติ แต่การมองเห็นจะยังไม่สมบูรณ์นัก กล่าวคือจอตาซึ่งบุอยู่ภายในลูกตายังพัฒนาไม่เต็มที่ เด็กแรกเกิดจึงมีการมองเห็นอยู่ในขั้นเลือนรางทันทีที่เด็กลืมตา มีแสงสว่างเข้าตาไปกระทบจอตา การพัฒนาการมองเห็นจะเริ่มขึ้นและดำเนินไปเรื่อยๆ
24 กันยายน 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 12 : พฤติกรรมทางเพศในวัยชรา (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มักใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้คนที่มีอายุระหว่าง 17 ถึง 59 ปี โดยรายงานว่า ชายโสดมีคู่ขาประจำทางเพศ (Sex partner) บรรลุจุดสุดยอด (Orgasm) บ่อยถี่กว่า และสำเร็จความใคร่ (Masturbate) มากกว่า หญิงโสด และประมาณ 1 ใน 3 ของคู่แต่งงาน มีเพศสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้ง...
8 กรกฎาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ภายหลังการผ่าตัดเพื่อตัดกระเพาะปัสสาวะออก จะมีการทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion) ได้หลายวิธี เช่น แพทย์อาจใช้ท่อ (Urinary conduit) ต่อจากท่อไต (Ureters) เพื่อถ่ายน้ำปัสสาวะออกจากร่างกายไปที่ถุงหน้าท้อง (Urostomy bag)
17 ตุลาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อัมพาต 360 องศา: แล้วแม่ผมก็เป็นอัมพาตอีกคนครับ
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
เท่าที่ผมทราบครอบครัวของผมมีประวัติเป็นโรคอัมพาตกันหลายคนตั้งแต่รุ่นคุณตา คุณยายแล้วก็มาถึงรุ่นคุณพ่อที่ท่านได้จากเราไปด้วยปัญหาโรคอัมพาต สำลักอาหารแล้วติดเชื้อในปอด
25 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน: ภัยของผู้ใช้คอนแทคเลนส์จากเชื้อปรสิต
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ผู้ใช้คอนแทคเลนส์ ควรต้องระวังโรคที่เกิดจากปรสิตตัวหนึ่งที่กระจกตา แม้ปรสิตตัวนี้อาจเกิดในคนปกติที่ไม่ได้ใช้คอนแทคเลนส์ก็ได้ แต่พบเป็นส่วนน้อยกว่ามาก เชื้อปรสิตที่กล่าวถึงนี้คือ เชื้ออะมีบา
24 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
มดเอ๋ย มดลูก ! (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
สื่อต่างประเทศได้รายงานข่าวของดาราหญิงฮอลลี่วูดชื่อดัง “แองเจลิน่า โจลี่” วัย 39 ปี ว่า ได้เข้ารับผ่าตัดรังไข่และท่อรังไข่เรียบร้อยแล้ว เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงหรือลดโอกาสเสี่ยงจากการเป็นมะเร็งที่รังไข่และท่อรังไข่ หลังจากการเป็นมะเร็งเต้านมและได้ทำการผ่าตัดเต้านมทิ้งไปแล้วเมื่อ 2 ปีก่อน
24 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เฮชไอวี VS เอดส์ (ตอนที่ 6 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
นอกจากการกินยาแล้ว สิ่งที่ควรทำ คือ การรักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ ด้วยการออกกำลังกายเป็นประจำ กินอาหารที่มีประโยชน์ และหยุดการสูบบุหรี่ ทั้งนี้ แพทย์จะสามารถควบคุมว่า การรักษาได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่ ด้วยการวัดจำนวนเชื้อที่อยู่ในเลือด หรือที่เรียกว่า Viral load
23 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 36 : ปัญหาการมองเห็น (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
คุณลักษณะ (Feature) ที่น่าสนใจหนึ่งของความคมชัด (Acuity) คือปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างขนาดของภาพ และการเทียบเคียงความต่าง (Contrast) ที่เรียกว่า CSF (= Contrast sensitivity function) หลักการของ CSF ก็คือเราอาจมองไม่เห็นภาพเล็กๆ หากนำเสนอในรูปแบบเทียบเคียงความต่างน้อย
23 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อัมพาต 360 องศา: โรคหัวใจกับอัมพาต
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ผู้ป่วยที่มีปัญหาของหลอดเลือด ได้แก่ หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดส่วนปลายที่ขา มักมีโอกาสพบความผิดปกติร่วมกันได้บ่อยมาก บางการศึกษาพบร่วมกันถึง 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 4 ด้วยเหตุนี้ผู้ป่วยเบาหวาน
22 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เฮชไอวี VS เอดส์ (ตอนที่ 5)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
สัญญาณที่บ่งบอกว่าเชื้อเฮชไอวีได้พัฒนาไปเป็นเอดส์แล้ว ได้แก่ • เป็นไข้ไม่ยอมหาย • เหงื่อออกระหว่างนอนหลับ • รู้สึกเหนื่อยตลอดเวลา (ไม่ได้เกิดจากความเครียดหรือการอดนอน)
22 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็งตอน: โอกาสที่ได้จากใช้ยาสามัญในมะเร็งเต้านม
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
การรักษามะเร็งเต้านมกลุ่มเซลล์มะเร็งจับฮอร์โมน คือ หลังการผ่าตัด +/- ยาเคมีบำบัด +/-รังสีรักษา ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาต่อเนื่องด้วยยาต้านฮอร์โมนที่ต้องกินทุกวัน อย่างน้อย 5 ปี
21 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เฮชไอวี VS เอดส์ (ตอนที่ 4)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ระยะที่ 2 เรียกว่า ระยะแฝง (Asymptomatic / latent period) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ ซึ่งอาจกินเวลานานถึง 10 ปีหรือมากกว่า โดยคนอาจจะไม่รู้ว่าตัวเองติดเชื้อ ทำให้มีการแพร่เชื้อเฮชไอวีไปยังผู้อื่นได้
21 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เฮชไอวี VS เอดส์ (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ระยะที่ 1 เรียกว่า การติดเชื้อเฉียบพลัน (Acute infection หรือ Seroconversion) มักเกิดในสัปดาห์ที่ 2-6 หลังการติดเชื้อ เป็นระยะที่ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันตอบสนองเพื่อกำจัดเชื้อออกจากร่างกาย อาการของการติดเชื้อเฉียบพลันจะคล้ายกับอาการป่วยด้วยเชื้อไวรัสอื่น โดยอาการจะเป็นอยู่นาน 1-2 สัปดาห์ เช่น
20 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน – ภาคที่ 3 จิตวิทยาผู้ใหญ่ตอนที่ 36 : สภาพไร้สมอง (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ในกรณีศึกษาที่ 4 สื่อมวลชน เรียกเธอว่า “หนูน้อยเทรีซ่า” (Bay Theresa) เธอเป็น 1 ในจำนวนทารก 1,000 คน ที่เกิดในสหรัฐอเมริกาในแต่ละปี พร้อมด้วยความผิดปรกติ (Disorder) ที่มักเป็นอันตรายถึงชีวิต (Fatal) เธอเกือบจะไม่มีสมองเอาเสียเลย เรียกว่า “สภาพไร้สมองใหญ่” (Anencephaly)
20 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เฮชไอวี VS เอดส์ (ตอนที่ 2)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
เชื้อไวรัสเฮชไอวี (Human immunodeficiency virus = HIV) เป็นเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคเอดส์ (Acquired Immunodeficiency Syndrome = AIDS) หรือ โรคระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง เชื้อไวรัสนี้จะไม่เหมือนเชื้อไวรัสอื่นเพราะร่างกายจะไม่สามารถกำจัดเชื้อได้ทั้งหมด
19 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เข้าครัวกับโภชนากร(โรงพยาบาล)ตอน: โภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยการล้างไตทางช่องท้อง Part.7
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
แคลเซียมและฟอสฟอรัส ระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสที่เพิ่มขึ้นจะทำให้แคลเซียมถูกดึงออกมาจากกระดูก เพื่อพยายามสร้างสมดุลในเลือด ซึ่งมีผลทำให้มีปัญหาเรื่องกระดูก
19 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อัมพาต 360 องศา: เมื่อพ่อผมเป็นอัมพาต
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
โรคอัมพาตเป็นโรคที่พบได้ในผู้สูงอายุ ยิ่งอายุมากเท่าไหร่ก็ยิ่งมีโอกาสเป็นอัมพาตมากขึ้นเท่านั้น อาการของโรคอัมพาตนั้นส่วนใหญ่ที่พบบ่อยๆ คือ อาการแขน ขาอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด คิดคำพูดไม่ออก
18 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
เฮชไอวี VS เอดส์ (ตอนที่ 1)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า สหประชาชาติเปิดเผยข้อมูลสถานการณ์ผู้ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ต้นเหตุของเอดส์หรือโรคภูมิคุ้มกันร่างกายบกพร่องเนื่องในวันเอดส์โลก (วันที่ 1 ธันวาคม) โดยระบุว่า เวลานี้มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั่วโลกอยู่ที่ราว 36.9 ล้านคน รวมทั้งผู้ป่วยเด็กราว 2.6 ล้านคน
18 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ซิฟิลิส พิษที่แฝง (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
กรณีที่หญิงตั้งครรภ์แพ้ยาเพนนิซิลิน จะใช้วิธีขจัดอาการแพ้ (Desensitization) ก่อน แล้วจึงค่อยให้ยาเพนนิซิลิน [การทำ Desensitization เป็นการให้ยาที่เป็นสาเหตุของการแพ้ (Antigen) ในขนาดต่ำมากๆ ทีละน้อยๆ เข้าสู่ร่างกาย คาดว่าการกระทำเช่นนี้ต่อร่างกายจะช่วยให้แม็สเซลล์ (Mast cell) ที่มี IgE antibody
17 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
สาระน่ารู้จากหมอตา ตอน ความเข้าใจผิดในเรื่องตาขี้เกียจ
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ผู้ป่วยรายแรก คุณแม่วัย ประมาณ 40 ปี พาลูกสาวอายุ 5 ปี มาปรึกษาเรื่องสายตาสั้นที่ไปวัดมาแล้วว่ามีสายตาสั้นข้างขวา 75 ข้างซ้าย 100 เนื่องจากลูกสาวยังไม่ยอมใส่แว่นที่ตัดมา
17 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน - ภาคที่ 4 จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 35 : ประสาทสัมผัสชราภาพ
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ผลกระทบของกระบวนการชราภาพทางร่างกาย เป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้คนประเมินใหม่ (Re-evaluate) ซึ่งสถานะของตนเอง นี่ไม่ใช่สิ่งที่ร้ายแรงเสมอไป การรับรู้ว่า กระดูกเริ่มเปราะบาง (Brittle) และกล้ามเนื้ออ่อนแอลง อาจสร้างความรู้สึกที่ไม่เต็มใจนัก แต่ในทางปฏิบัติก็ทำให้คนเริ่มระมัดระวัง (Caution)
16 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
ซิฟิลิส พิษที่แฝง (ตอนที่ 3)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคซิฟิลิส ได้แก่ • การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน • มีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนหลายคน • การมีรักร่วมเพศของผู้ชาย
16 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
อัมพาต 360 องศา:เมื่อไหร่ผมจะทานข้าวได้
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
“คุณหมอครับ ผมทรมานมากเลยครับ ตอนนี้ผมยังทานข้าวได้ไม่ดีเลยครับ ทานแล้วก็จะสำลัก ต้องค่อยๆ ทาน อาหารที่มีน้ำมากๆ ก็ทานไม่ได้ ตอนนี้ผมรักษากับคุณหมอมาปีกว่าๆ แล้วนะครับ เมื่อไหร่ผมจะหายครับ “
15 ธันวาคม 2015
อ่านเนื้อหาทั้งหมด
หน้า 109/225:
ก่อนหน้า
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
ถัดไป
ลดน้ำหนักลดอาหาร มักอยู่นานอายุยืน (ตอนที่ 2 และตอนจบ)
โดย ปฐมา ลอออรรถพงศ์
ผมร่วง ศีรษะล้าน รักษาได้ ตอน ลดผมร่วง ขาดง่าย
โดย พญ.ชลธิรศน์ ศรีเกษตรสรากุล
เรื่องเฉพาะสตรี...มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 12 (ตอนจบ)
โดย รศ.ดร.นพ.บัณฑิต ชุมวรฐายี
จิตวิทยาผู้สูงวัย ตอนที่ 201 : สู่ปัจจัยทางจิตและสุขภาพ (1)
โดย ดร.วิทยา มานะวาณิชเจริญ
ศิริราชผ่าตัดส่องกล้องรักษา “ภาวะกระเพาะปัสสาวะอุดกั้น” (ตอนที่ 3 และตอนจบ)
โดย ปราง เทพินทราภิรักษ์
รีวิวตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
โดย ทีมงาน Haamor.com
ถั่วเหลืองกับสุขภาพ เมนูที่2 เมนู วุ้นน้ำเต้าหู้งาดำ-ฟรุตสลัด
โดย กาญจนา ฉิมเรือง
สาระน่ารู้จากหมอตาตอน อาหารที่ป้องกันโรคต้อกระจก
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต
ปัจจัยมนุษย์หรือการยศาสตร์ (ตอนที่ 8 และตอนจบ)
โดย ภก. กรชัย ฉันทจิรธรรม
Hoarding Disorder โรคเก็บสะสมของ (ตอนที่ 1)
โดย พ.ท.หญิง กุลกานต์ ฤทธิ์ฤๅชัย รัตนวราหะ
หมอสมศักดิ์ตอบ:การซื้อยาทานเอง ทำได้หรือไม่
โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
เด็กที่ความบกพร่องทางการเคลื่อนไหว (ตอนจบ)
โดย โสธิดา ผุฏฐธรรม
เข้าครัวกับโภชนากร (โรงพยาบาล) :ตอน วัยรุ่น วัยใส ใส่ใจสุขภาพ กินอย่างไรดี
โดย ภัคจิรา เบญญาปัญญา
ลมชักฉันรักเธอ ภาค2: น้องออยทำได้ (ตอนสุดท้ายของภาค2)
โดย ธนิศา หาญพินิจศักดิ์ ตรวจสอบโดย: รศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า
ไทฟอยด์ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
โดย วันทนีย์ โลหะประกิตกุล
คุยกับหมอรักษาโรคมะเร็ง ตอน ผลของรังสีรักษาในเนื้องอกพังผืดชนิดรุกรานรุนแรง
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์
โภชนาการกับการหายของแผล(Nutrition in Wound Care) ตอนที่ 6
โดย อาจารย์พรพิศ เรืองขจร
การจัดการภาวะแทรกซ้อนยาต้านรีโทรไวรัส ตอน 25
โดย ภก.วิชญ์ภัทร ธรานนท์
สมาชิกที่ใช้งานอยู่ขณะนี้ คน
หน้าหลัก
|
ข่าว/บล็อก
|
บทความสุขภาพ
|
ค้นหาโรงพยาบาล
|
เว็บบอร์ด
|
ข้อตกลงการใช้งาน
|
เกี่ยวกับเรา
|
แพ็คเกจสุขภาพ
ขอสงวนสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ห้ามมิให้ทำซ้ำ คัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ตีพิมพ์ เผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของ website หาหมอ.com ก่อน และบทความ ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ องค์ประกอบและสิ่งต่างๆที่ปรากฏใน website หาหมอ.com เป็นเพียงความคิดเห็นของผู้เขียน ไม่สามารถนำไปเป็นหลักฐานในการฟ้องร้อง หรือใช้ทดแทนคำวินิจฉัย และ หรือ การรักษาจากแพทย์ได้
วิกิโรค
วิกิยา
สุขภาพเด็ก
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้หญิงและความงาม
เกร็ดสุขภาพ
สุขภาพทั่วไป
เพศศึกษา
ข่าว/บล็อก
กรดไหลย้อน
กรวยไตอักเสบ
ความดันโลหิตต่ำ
ความดันโลหิตสูง
ดาวน์ซินโดรม
ธาลัสซีเมีย
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคของจอตา
ปอดบวมในเด็ก
ปัสสาวะรดที่นอน
พังผืดที่จอตา
ต้อเนื้อ
ตาบอดสี
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก
โรคพยาธิใบไม้ตับ
โรคลมชัก
โรคตับอักเสบ
โรคภูมิแพ้หูคอจมูก
ระยะหลังคลอด
คันทวารหนัก
ช่องคลอดมีกลิ่น
โรคติดเชื้อนิวโมคอกคัส
โรคสมองเสื่อม
ปวดหลังช่วงล่าง
การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติ
โรคติดเชื้อเอชพีวี
สิ่งแปลกปลอมในจมูก
การแท้งบุตร
โรคมะเร็งคอหอย
© 2011-2012 HaaMor.com. All rights reserved.